DSpace Repository

Browsing คณะเทคนิคการแพทย์ by Title

Browsing คณะเทคนิคการแพทย์ by Title

Sort by: Order: Results:

  • Nji T. Ndeh; Yacob T. Tesfaldet; Jariya Budnard; Pavadee Chuaicharoen; จริยา บุตรเนตร; ภาวดี ช่วยเจริญ (2022)
    The coronavirus disease 2019 (COVID-19) has promoted stringent public health measures such as hand hygiene, face mask wearing, and physical distancing to contain the spread of the viral infection. In this retrospective ...
  • Unchalee Tansuphasiri; Sarawut Suttirat (2001)
    We describe a simple microplate hybridization assay for the rapid detection of the IS6110 PCR products of Mycobacterium tuberculosis from clinical cultures and from sputum specimens. The assay is based on the specific ...
  • Phassakorn Klinkwan; Chalunda Kongmaroeng; Sombat Muengtaweepongsa; Wiroj Limtrakarn; ภาสกรณ์ กลิ่นขวัญ; ชลันดา กองมะเริง; สมบัติ มุ่งทวีพงษา; วิโรจน์ ลิ่มตระการ (2022)
    Rehabilitation is a crucial part of stroke recovery to help them regain use of their limb. The aim of this article was to compare the effectiveness of long-term training of mirror therapy with conventional rehabilitation ...
  • ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    มะเร็งท่อน้ำดีเป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นที่บริเวณท่อทางเดินน้ำดี มีความสัมพันธ์กับการอักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อพยาธิที่ตับ ทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาเป็นไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบซึ่งหลังจากแมคโครเฟจและเซลล์มะเร็ง ...
  • ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    เอนไซม์ paraoxonase 2 (PON2) สามารถพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อต่างๆ โดยทำหน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระในการลดภาวะ oxidative stress ภายในเซลล์และรอบๆ เซลล์ซึ่งสามารถยับยั้ง lipid peroxidation ของ oxidized-low density lipoprotein ...
  • ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์; Chompunoot Sinthupibulyakit; Thinnakorn Permpongpaiboon; Sureerut Porntadavity (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การกระจายตัวของยีนพาราออกโซเนส 1 ในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทย Paraoxonase1 (PON1) เป็นเอนไซม์ที่ถูกสังเคราะห์ที่ตับและไตถูกหลั่งออกมาในพลาสมาและจับกับ high-density lipoprotein (HDL) มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระโดย hydrolyze ...
  • ชลันดา กองมะเริง; เกษร คำแก่น (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    แอนติบอดีต่อแอนติเจนนิวโทรฟิล (Human Neutrophil Antigens; HNAs) มีบทบาทสำคัญในการเกิดภาวะ immune-mediated neutropenia และ antibody-mediated transfusion related acute lung injury (TRALI) การตรวจหาแอนติเจน HNA มีความสำคัญต ...
  • อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; ภาณุพงศ์ สหายสุข; จิราภรณ์ เรืองสิทธิชัย; สุชาดา สำรวยผล; พัชรา ศรีวิชัย; สังสิทธิ์ สังวรโยธิน; ชำนาญ อภิวัฒนศร; Issaya Janwittayanuchit; Panupong Sahaisook; Jiraporn Ruangsitthichai; Suchada Sumruayphol; Patchara Sriwichai; Sungsit Sungvoorayothin; Chamnarn Apiwathnasorn (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวิธี DNA barcodes เพื่อนำมาใช้ในการจำแนกชนิดของแมลงสาบเปรียบเทียบกับวิธีสัณฐานวิทยาซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน โดยทำการจำแนกแมลงสาบจำนวน 12 ชนิด แบ่งเป็นแมลงสาบที่ทราบชนิดจำนวน 10 ชนิด และแมลงสาบที่ไม่ทราบชนิดอีก ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; พจมาน ผู้มีสัตย์; สุทัศน์ บุญยงค์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    Vibrio parahaemolyticus เป็นสาเหตุสําคัญของโรคอาหารทะเลเป็นพิษ การจําแนกสายพันธุ์ของเชื้อจึงเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษาระบาดวิทยา รวมถึงการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ การวิจัยครังนี้ศึกษาการจําแ ...
  • ปัญจพร นิ่มมณี; พรทิพย์ พึ่งม่วง; ชนิสรา รุ่งรำพรรณ; ณัฏฐนิช คณะผล; ปวีณ์นุช มะโนน้อม; นัจมีย์ ขุนเศษ; ซฮาราห์ ดอเลาะ; Panjaphorn Nimmanee; Porntip Paungmoung (2018)
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกสายพันธุ์ของเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ซึ่งเป็นแบคทีเรียก่อโรคทางเดินอาหารอักเสบและอาหารเป็นพิษ จำนวน 30 ไอโซเลต (Isolates) ที่แยกได้จากสิ่งส่งตรวจของผู้ป่วย โดยเปรียบเทียบระหว่างวิธี ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; สุรศักดิ์ หมื่นพล; Sarawut Suttirat; Taweebhorn Panpanich; Isariya Ieamsuwan; Surasak Muenphon (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2009)
    ทำการดัดแปลงวิธีอินไดเร็คอิมมูโนเพอร์ออกซิเดส (IIP) สำหรับตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อเชื้อเลปโตสไปรา แล้วนำมาทดสอบกับตัวอย่างซีรัมจำนวน 111 ตัวอย่าง ประกอบด้วยซีรัมของผู้ป่วยเลปโตสไปโรซิส 65 ตัวอย่าง ตัวอย่างซีรัมควบคุมผลลบ ...
  • ปุณยนุช จินดาธรรมานุสาร; ภัสรา อาณัติ; สุวรรณา เสมศรี; ณัฐวดี ทรัพย์วัฒนไพศาล; ปวรรณรัตน์ เรือนงาม (2017)
    ภาวะหลอดเลือดดำอุดตันเป็นปัญหาสำคัญที่หากไม่สามารถให้การวินิจฉัยและรักษาได้ทันท่วงทีอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ สาเหตุที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำมีทั้งจากพันธุกรรมและเกิดตามหลังภาวะต่างๆ ผู้วิจัยทำการศึกษาการกลาย ...
  • สราวุธ สายจันมา; อุมาพร ทรัพย์เจริญ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 1998)
    การวิจัยนี้เป็นการศึกษานำร่องในการใช้ค่าชี้วัดทางโลหิตวิทยาที่ได้จากเครื่องนับเซลล์อัตโนมัติในงานประจำ เพื่อเป็นวิธีตรวจกรองพาหะของธาลัสซีเมียชนิดแอลฟา ในทารกแรกเกิดก่อนที่จะทำการตรวจยืนยันโดยวิธีมาตรฐานต่อไป ซึ่งการตรวจ ...
  • ชลันดา กองมะเริง; สุวรรณา เสมศรี; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; ทัศนีย์ มงคลสุข; มยุรี เก่งเกตุ; Chalunda Kongmaroeng; Suwanna Semsri; Pimpun Kitporka; Tasanee Mongkolsuk; Mayuree Kengkate (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2006)
    การตรวจหายีนของแอนติเจนของเกล็ดเลือด (HPA genotyping) ได้อย่างถูกต้องและครบทุกระบบจำเป็นอย่างยิ่งในการวินิจฉัยผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะ neonatal alloimmune thrombocytopenic purpura (NAITP), platelet transfusion refractoriness ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ณฐมน หนูอินทร์; ภัทรนิษฐ์ อัมพรฤทธิศักดิ์; เพ็ญนภา ชมะวิต; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; Patcharee Kammarnjassadakul; Natamon Nooin; Pattaranit Amphonritthisak; Pennapa Chamavit; Watcharin Rangsipanuratn (2020)
    แมลงสาบเป็นพาหะนำเชื้อโรคหลากหลายชนิด มีนิสัยกินอาหารได้ทุกประเภท พบมากในบริเวณที่พักอาศัยของมนุษย์ ดังนั้นจึงมีโอกาสที่จะนำเชื้อยีสต์ก่อโรคมาสู่มนุษย์ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของเชื้อยีสต์ที่อยู่ในลำไส ...
  • สมหญิง งามอุรุเลิศ; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; สุมลรัตน์ ชูวงษ์วัฒนะ; ประเสริฐ เอื้อวรากุล (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การติดเชื้่อไวรัสตับอักเสบบีเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก มีผู้ติดเชื้อเป็นพาหะที่สามารถแพร่เชื้อต่อไปยังผู้อื่นได้ ประเทศไทยมีความชุกของไวรัสตับอักเสบบีสูงเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาความช ...
  • ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; กรวิภา วิกัยนภากุล; กรกฏ อุดมอาภาพิมล; พิมพ์วิภา เรืองขจิต; กาญจนา วิจิตรธรรมรส; สุภาวรรณ ใจช่วย; Chompunoot Sinthupibulyakit; Kornwipa Wikanapakul; Korakoat Udomarprapimol; Pimwipha Ruangkhajit; Kanjana Vichittummaros (2022)
    การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในปัจจุบันส่งผลต่อภาวะสุขภาพซึ่งนำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในบุคคลวัยทำงานได้ การตรวจสุขภาพประจำปีช่วยให้ทราบภาวะสุขภาพ ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและโรคที่แฝงอยู่โดยไม่ปรากฏอาการนำไปสู่การป้องก ...
  • เพ็ญนภา ชมะวิต; นฤมล โกมลมิศร์; ชำนาญ อภิวัฒนศร (2012)
    ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นพาหะหลักของโรคไข้เลือดออก การเฝ้าระวังและติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับความต้านทานของยุงลายต่อสารเคมีที่ใช้ในการควบคุมจึงมีความสำคัญมาก วัตถุประสงค์การศึกษานี้คือทดสอบความไวของลูกน้ำและตัวเต็มวั ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; จิดาภา เซคเคย์; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; อริยา จินดามพร (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    ยาดมสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากธรรมชาติและได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย แต่การศึกษาเกี่ยวกับยาดมสมุนไพรกับการปนเปื้อนเชื้อรายังมีน้อยมาก ดังนั้นคณะผู้วิจัยทำการตรวจหาชนิดของเชื้อราปนเปื้อนจากยาดมสมุนไพรที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาด ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ธีราพร ชนะกิจ; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; จิดาภา เซคเคย์; อริยา จินดามพร (2015)
    วัตถุประสงค์: เพื่อตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อราก่อโรคฉวยโอกาสในยาดมสมุนไพร วัสดุและวิธีการ: เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง โดยทำการตรวจหาเชื้อราปนเปื้อนในอากาศจากยาดมสมุนไพรที่มีจำหน่ายในจังหวัดสมุทรปราการ และยังไม่ได้เปิดใช้งาน ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account