DSpace Repository

Browsing คณะเทคนิคการแพทย์ by Title

Browsing คณะเทคนิคการแพทย์ by Title

Sort by: Order: Results:

  • Phassakorn Klinkwan; Chalunda Kongmaroeng; Sombat Muengtaweepongsa; Wiroj Limtrakarn; ภาสกรณ์ กลิ่นขวัญ; ชลันดา กองมะเริง; สมบัติ มุ่งทวีพงษา; วิโรจน์ ลิ่มตระการ (2022)
    Rehabilitation is a crucial part of stroke recovery to help them regain use of their limb. The aim of this article was to compare the effectiveness of long-term training of mirror therapy with conventional rehabilitation ...
  • ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    มะเร็งท่อน้ำดีเป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นที่บริเวณท่อทางเดินน้ำดี มีความสัมพันธ์กับการอักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อพยาธิที่ตับ ทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาเป็นไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบซึ่งหลังจากแมคโครเฟจและเซลล์มะเร็ง ...
  • ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    เอนไซม์ paraoxonase 2 (PON2) สามารถพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อต่างๆ โดยทำหน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระในการลดภาวะ oxidative stress ภายในเซลล์และรอบๆ เซลล์ซึ่งสามารถยับยั้ง lipid peroxidation ของ oxidized-low density lipoprotein ...
  • ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์; Chompunoot Sinthupibulyakit; Thinnakorn Permpongpaiboon; Sureerut Porntadavity (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การกระจายตัวของยีนพาราออกโซเนส 1 ในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทย Paraoxonase1 (PON1) เป็นเอนไซม์ที่ถูกสังเคราะห์ที่ตับและไตถูกหลั่งออกมาในพลาสมาและจับกับ high-density lipoprotein (HDL) มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระโดย hydrolyze ...
  • ชลันดา กองมะเริง; เกษร คำแก่น (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    แอนติบอดีต่อแอนติเจนนิวโทรฟิล (Human Neutrophil Antigens; HNAs) มีบทบาทสำคัญในการเกิดภาวะ immune-mediated neutropenia และ antibody-mediated transfusion related acute lung injury (TRALI) การตรวจหาแอนติเจน HNA มีความสำคัญต ...
  • อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; ภาณุพงศ์ สหายสุข; จิราภรณ์ เรืองสิทธิชัย; สุชาดา สำรวยผล; พัชรา ศรีวิชัย; สังสิทธิ์ สังวรโยธิน; ชำนาญ อภิวัฒนศร; Issaya Janwittayanuchit; Panupong Sahaisook; Jiraporn Ruangsitthichai; Suchada Sumruayphol; Patchara Sriwichai; Sungsit Sungvoorayothin; Chamnarn Apiwathnasorn (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวิธี DNA barcodes เพื่อนำมาใช้ในการจำแนกชนิดของแมลงสาบเปรียบเทียบกับวิธีสัณฐานวิทยาซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน โดยทำการจำแนกแมลงสาบจำนวน 12 ชนิด แบ่งเป็นแมลงสาบที่ทราบชนิดจำนวน 10 ชนิด และแมลงสาบที่ไม่ทราบชนิดอีก ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; พจมาน ผู้มีสัตย์; สุทัศน์ บุญยงค์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    Vibrio parahaemolyticus เป็นสาเหตุสําคัญของโรคอาหารทะเลเป็นพิษ การจําแนกสายพันธุ์ของเชื้อจึงเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษาระบาดวิทยา รวมถึงการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ การวิจัยครังนี้ศึกษาการจําแ ...
  • ปัญจพร นิ่มมณี; พรทิพย์ พึ่งม่วง; ชนิสรา รุ่งรำพรรณ; ณัฏฐนิช คณะผล; ปวีณ์นุช มะโนน้อม; นัจมีย์ ขุนเศษ; ซฮาราห์ ดอเลาะ; Panjaphorn Nimmanee; Porntip Paungmoung (2018)
    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกสายพันธุ์ของเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ซึ่งเป็นแบคทีเรียก่อโรคทางเดินอาหารอักเสบและอาหารเป็นพิษ จำนวน 30 ไอโซเลต (Isolates) ที่แยกได้จากสิ่งส่งตรวจของผู้ป่วย โดยเปรียบเทียบระหว่างวิธี ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; สุรศักดิ์ หมื่นพล; Sarawut Suttirat; Taweebhorn Panpanich; Isariya Ieamsuwan; Surasak Muenphon (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2009)
    ทำการดัดแปลงวิธีอินไดเร็คอิมมูโนเพอร์ออกซิเดส (IIP) สำหรับตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อเชื้อเลปโตสไปรา แล้วนำมาทดสอบกับตัวอย่างซีรัมจำนวน 111 ตัวอย่าง ประกอบด้วยซีรัมของผู้ป่วยเลปโตสไปโรซิส 65 ตัวอย่าง ตัวอย่างซีรัมควบคุมผลลบ ...
  • ปุณยนุช จินดาธรรมานุสาร; ภัสรา อาณัติ; สุวรรณา เสมศรี; ณัฐวดี ทรัพย์วัฒนไพศาล; ปวรรณรัตน์ เรือนงาม (2017)
    ภาวะหลอดเลือดดำอุดตันเป็นปัญหาสำคัญที่หากไม่สามารถให้การวินิจฉัยและรักษาได้ทันท่วงทีอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ สาเหตุที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำมีทั้งจากพันธุกรรมและเกิดตามหลังภาวะต่างๆ ผู้วิจัยทำการศึกษาการกลาย ...
  • สราวุธ สายจันมา; อุมาพร ทรัพย์เจริญ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 1998)
    การวิจัยนี้เป็นการศึกษานำร่องในการใช้ค่าชี้วัดทางโลหิตวิทยาที่ได้จากเครื่องนับเซลล์อัตโนมัติในงานประจำ เพื่อเป็นวิธีตรวจกรองพาหะของธาลัสซีเมียชนิดแอลฟา ในทารกแรกเกิดก่อนที่จะทำการตรวจยืนยันโดยวิธีมาตรฐานต่อไป ซึ่งการตรวจ ...
  • ชลันดา กองมะเริง; สุวรรณา เสมศรี; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; ทัศนีย์ มงคลสุข; มยุรี เก่งเกตุ; Chalunda Kongmaroeng; Suwanna Semsri; Pimpun Kitporka; Tasanee Mongkolsuk; Mayuree Kengkate (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2006)
    การตรวจหายีนของแอนติเจนของเกล็ดเลือด (HPA genotyping) ได้อย่างถูกต้องและครบทุกระบบจำเป็นอย่างยิ่งในการวินิจฉัยผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะ neonatal alloimmune thrombocytopenic purpura (NAITP), platelet transfusion refractoriness ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ณฐมน หนูอินทร์; ภัทรนิษฐ์ อัมพรฤทธิศักดิ์; เพ็ญนภา ชมะวิต; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; Patcharee Kammarnjassadakul; Natamon Nooin; Pattaranit Amphonritthisak; Pennapa Chamavit; Watcharin Rangsipanuratn (2020)
    แมลงสาบเป็นพาหะนำเชื้อโรคหลากหลายชนิด มีนิสัยกินอาหารได้ทุกประเภท พบมากในบริเวณที่พักอาศัยของมนุษย์ ดังนั้นจึงมีโอกาสที่จะนำเชื้อยีสต์ก่อโรคมาสู่มนุษย์ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของเชื้อยีสต์ที่อยู่ในลำไส ...
  • สมหญิง งามอุรุเลิศ; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; สุมลรัตน์ ชูวงษ์วัฒนะ; ประเสริฐ เอื้อวรากุล (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การติดเชื้่อไวรัสตับอักเสบบีเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก มีผู้ติดเชื้อเป็นพาหะที่สามารถแพร่เชื้อต่อไปยังผู้อื่นได้ ประเทศไทยมีความชุกของไวรัสตับอักเสบบีสูงเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาความช ...
  • ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; กรวิภา วิกัยนภากุล; กรกฏ อุดมอาภาพิมล; พิมพ์วิภา เรืองขจิต; กาญจนา วิจิตรธรรมรส; สุภาวรรณ ใจช่วย; Chompunoot Sinthupibulyakit; Kornwipa Wikanapakul; Korakoat Udomarprapimol; Pimwipha Ruangkhajit; Kanjana Vichittummaros (2022)
    การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในปัจจุบันส่งผลต่อภาวะสุขภาพซึ่งนำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในบุคคลวัยทำงานได้ การตรวจสุขภาพประจำปีช่วยให้ทราบภาวะสุขภาพ ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและโรคที่แฝงอยู่โดยไม่ปรากฏอาการนำไปสู่การป้องก ...
  • เพ็ญนภา ชมะวิต; นฤมล โกมลมิศร์; ชำนาญ อภิวัฒนศร (2012)
    ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นพาหะหลักของโรคไข้เลือดออก การเฝ้าระวังและติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับความต้านทานของยุงลายต่อสารเคมีที่ใช้ในการควบคุมจึงมีความสำคัญมาก วัตถุประสงค์การศึกษานี้คือทดสอบความไวของลูกน้ำและตัวเต็มวั ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; จิดาภา เซคเคย์; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; อริยา จินดามพร (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    ยาดมสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากธรรมชาติและได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย แต่การศึกษาเกี่ยวกับยาดมสมุนไพรกับการปนเปื้อนเชื้อรายังมีน้อยมาก ดังนั้นคณะผู้วิจัยทำการตรวจหาชนิดของเชื้อราปนเปื้อนจากยาดมสมุนไพรที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาด ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ธีราพร ชนะกิจ; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; จิดาภา เซคเคย์; อริยา จินดามพร (2015)
    วัตถุประสงค์: เพื่อตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อราก่อโรคฉวยโอกาสในยาดมสมุนไพร วัสดุและวิธีการ: เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง โดยทำการตรวจหาเชื้อราปนเปื้อนในอากาศจากยาดมสมุนไพรที่มีจำหน่ายในจังหวัดสมุทรปราการ และยังไม่ได้เปิดใช้งาน ...
  • วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; พัชรี กัมมารเจษฎากุล; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; พรทิพย์ พึ่งม่วง; สมหญิง งามอุรุเลิศ; เมธี ศรีประพันธ์; สุชาดา ยางเอน; วีรชัย สุทธิธารธวัช (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    สมุนไพรจีนเป็นการแพทย์แผนทางเลือกที่กาลังเป็นที่นิยมในปัจจุบัน แต่ยังขาดข้อมูลความปลอดภัยในการบริโภค งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปนเปื้อนโลหะหนัก จุลินทรีย์และอะฟลาทอกซินในสมุนไพรจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย 5 ...
  • ณัฐริณี หอระตะ; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; สุวรรณา เสมศรี; วชิรญาย์ อธิมัง; ศราวุธ สุทธิรัตน์; วศิน เอมเอาธาน; นัฏฐา ผดุงวัฒนะโชค; กชวรรณ จันเทร์มะ; Natharinee Horata; Taweeporn Phunpanich; Isariya Ieamsuwan; Suwanna Semsri; Wachiraya Athimang; Sarawut Suttirat; Natta Padungwattanachoke (2017)
    มาลาเรียยังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญในประเทศไทย ซึ่งเชื้อมาลาเรียชนิด Plasmodium falciparum ได้ถูกพบว่ามีการดื้อต่อยาหลายชนิดที่ใช้รักษาโรคมาลาเรีย รวมถึงยาที่มีต้นกําเนิดจากพืชด้วย ได้แก่ Quinine และ artemisinin ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account