กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3342
ชื่อเรื่อง: ประสบการณ์การขจัดความยากจนแบบครอบคลุมและตรงจุดของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและการทํางานเชิงพื้นที่เพื่อแก้ไขความยากจนแบบเบ็ดเสร็จแม่นยําในประเทศไทย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Comparative Study on the Experiences of the Inclusive and Precise Poverty Alleviation in People’s Republic of China and the Comprehensive and Precise Poverty Alleviation in Thailand
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ลั่นทม จอนจวบทรง
อัญชลี สมบูรณ์
อโศก พลบํารุง
ถนอมสิน พลลาภ
เอกชัย ปิ่นแก้ว
Lanthom Jonjoubsong
Anchali Somboon
Asok Polbumrung
Thanomsin Pollap
Ekachai Pinkeaw
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
Program Management Unit on Area Based Development
Independent Scholar
Independent Scholar
คำสำคัญ: ความจน – จีน
Poverty – China
ความจน – ไทย
Poverty -- Thailand
การพัฒนาชุมชน
Community development
การพัฒนาชนบท
Rural development
เขตปกครองตนเองกว่างซี-จ้วง
Guangxi-Zhuang Autonomous Region
ความจน – นโยบายของรัฐ – จีน
Poverty -- Government policy -- China
ความจน – นโยบายของรัฐ – ไทย
Poverty – Government policy -- Thailand
การขจัดความยากจนอย่างตรงจุด
Poverty Alleviation
วันที่เผยแพร่: 2024
แหล่งอ้างอิง: วารสารบริหารธุรกิจและการจัดการปริทัศน์ 16,1 (มกราคม-มิถุนายน 2567) : 252-271.
บทคัดย่อ: ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนประกาศหลุดพ้นความยากจนได้ในปี พ.ศ. 2563 ด้วยแนวทางการแก้ไขความยากจนแบบตรงจุดจนเป็นที่สนใจของทั่วโลก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาแนวทางขจัดความยากจนของจีนเพื่อค้นหาความเหมาะสมที่จะนํามาใช้ปรับปรุงการดําเนินการแก้ไขความยากจนปรับปรุงการดําเนินการแก้ไขความยากจนเชิงพื้นที่ของส่วนประเทศไทยทั้งในส่วนการค้นหาและตรวจทานคนจน และการจัดทําโมเดลแก้จน โดยมีพื้นที่วิจัยประกอบด้วยเขตปกครองตนเองกว่างซี-จ้วง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงที่จังหวัดไป่เซ่อ กุ้ยหลิน และยวีหลิน ผลการศึกษาพบว่า แนวทางการขจัดความยากจนแบบตรงจุดของประเทศจีนได้มุ่งเน้นที่การพิสูจน์ครัวเรือนยากจน การช่วยเหลือตรงจุด ทั้งการพัฒนาพื้นที่ยากจน และการพัฒนาอาชีพด้วยการการใช้นวัตกรรมการผลิตแบบอุตสาหกรรมและการตลาดสมัยใหม่โดยมีลักษณะเด่นจัดทําแผนความช่วยเหลือเป็นรายชุมชนและครัวเรือนและการบริหารงานแบบ 4 ประสาน ที่มีทั้งภาครัฐสถานศึกษา เกษตรกร และภาคเอกชนร่วมงาน ช่วยประสานงาน พัฒนาศักยภาพคนจน การถ่ายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยี และการดึงคนจนสู่ห่วงโซ่คุณค่า
The People’s Republic of China (PRC) has achieved remarkable succeed at eradicating poverty with targeted poverty alleviation approach in 2020. This research project has objective to study on poverty redemption of PRC, to search for the use of science, technology and innovation for poverty redemption of PRC that could be applied to Thai poverty alleviation. Research sites for the study were Guangxi-Zhuang Autonomous Region with three provinces—Baise, Guilin and Yulin—were purposive sampling as research samples. The results of the study showed that the Targeted Poverty Alleviation of PRC has focused on poor household approval and targeted poverty reduction with comprehensive poverty redemption projects that have been focused on industrial production approach and modern trade and strategy of four lateral party collaboration including government, educational institutes, communities, and private sector, to transfer technologies and innovation to production systems of the poor, to build the capacity of the poor and to push them to value chain.
รายละเอียด: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/267229/176958
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3342
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Business Administration - Articles Journals

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Comparative-Study-on-the-Experiences-of-the-Inclusive-and-Precise-Poverty-Alleviation .pdf90.95 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น