Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4130
Title: การควบคุมภาวะแทรกซ้อนในผู้เป็นเบาหวานขึ้นจอประสาทตาระยะที่ยังไม่สร้างหลอดเลือดใหม่
Other Titles: Controlling Complications in Non-Proliferative Diabetic Retinopathy Patients (NPDR)
Authors: อําภา จิตกุย
ทรงกรฎ ศฤงคาร
ตฤณ ทิพย์สุทธิ์
Ampa Jitkui
Songkrot Saringkarn
Trin Thipsut
Navamindradhiraj University. Faculty of Medicine Vajira Hospital
Bangkok Flight Services Suvarnabhumi Airport
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Keywords: เบาหวาน
Diabetes
เบาหวาน – ภาวะแทรกซ้อน
Diabetes – Complications
ผู้ป่วยเบาหวาน
Diabetics
เบาหวานขึ้นตา
Diabetic Retinopathy
จอประสาทตาเสื่อมจากเบาหวาน
ผู้ป่วยเบาหวานขึ้นตาระยะที่ยังไม่สร้างหลอดเลือดใหม่
Non-Proliferative Diabeticretinopathy Patients
Issue Date: 2024
Citation: วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะ 28, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 149-158.
Abstract: ภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา เป็นการเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดฝอยในจอประสาทตา ซึ่งเกิดจากภาวะที่มีน้ําตาลในเลือดสูงทําให้จอประสาทตาบวมขาดออกซิเจน หากปล่อยไว้จะมีเลือดออกในจอประสาทตาและวุ้นตา อาจทําให้จอประสาทตาลอกซึ่งเป็นสาเหตุสําคัญทําให้สูญเสียการมองเห็นและตาบอดได้โดยสาเหตุที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ได้แก่ ระยะเวลาการเป็นเบาหวานระดับน้ําตาลในเลือดสะสม ความดันโลหิตสูง และระดับไขมันในเลือดสูงดังนั้นแนวทางที่จะช่วยควบคุมภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทในผู้เป็นเบาหวานขึ้นจอประสาทตาระยะที่ยังไม่สร้างหลอดเลือดใหม่(NPDR)ก็คือการส่งเสริมการรับรู้ที่ถูกต้องเพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิด NPDRเกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมภาวะแทรกซ้อนจากภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ข้อความในบทความนี้ประกอบด้วย ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดจอประสาทตาผิดปกติจากโรคเบาหวาน แนวทางการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาและพฤติกรรมการควบคุมภาวะแทรกซ้อนจากภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ได้แก่ พฤติกรรมการรับประทานอาหารพฤติกรรมการออกกําลังกายและพฤติกรรมการใช้ยาตามแผนการรักษาด้วยตนเอง เพื่อที่จะได้รับรู้ประโยชน์ของการควบคุมภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน และสร้างการรับรู้ถึงผลเสียจากระดับน้ําตาลในเลือดสะสมที่เกินเกณฑ์ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เป็นเบาหวานชนิด NPDRปฏิบัติพฤติกรรมด้วยตนเองระยะยาวจนก่อเกิดเป็นกิจวัตรประจําวัน และฝึกกระทําจนเป็นพฤติกรรมถาวรสามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนจากภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนําไปสู่การดํารงชีวิตที่มีคุณภาพที่ดีต่อไป
Diabetic retinopathy is a change in microangiopathy caused by high blood sugar levels, leading to ischemic retina complication, vitreous hemorrhage, tractional retinal detachment which can result in visual loss and blindness. The factors that cause diabetic retinopathy include the duration of having diabetes, HbA1c level, hypertension and dyslipidemia. Therefore, guidelines have been developed to help control diabetic retinopathy in patients with non-proliferative diabetic retinopathy (NPDR). Promoting correct awareness and encouraging behavior modification among NPDR patients is essential for controlling diabetic retinopathy. This article discusses the risk factors for retinal abnormalities caused by diabetes, guidelines for preventing complications from diabetic retinopathy and strategies for controlling these complications. These include recommendations for changing eating behavior, exercise behavior and medication behavior according to the treatment plan. By understanding the benefits of controlling diabetes-related complications and the negative effects of accumulated high blood sugar levels that exceed the threshold, NPDR patients can be motivated to practice the behavioral changes on their own in the long term until they become a daily routine and eventually permanent. Finally, they can effectively control complications from diabetic retinopathy and lead to an improved quality of life.
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/269058/185270
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4130
Appears in Collections:Nursing - Articles Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Complications-in-Non-Proliferative-Diabetic-Retinopathy-Patients-(NPDR).pdf89.94 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.