กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4312
ชื่อเรื่อง: | กลวิธีการนําเสนอตัวละครชายในฝันในละครโทรทัศน์ไทย พ.ศ. 2556 – 2565 |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Representations of the Ideal Male in Thai Television Dramas, from 2013 to 2022 |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | Zhang Liqun วีรวัฒน์ อินทรพร Weerawat Intaraporn Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Graduate Student Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
คำสำคัญ: | ตัวละครและลักษณะนิสัยในโทรทัศน์ Characters and characteristics on television ละครโทรทัศน์ Television series บุรุษในวรรณกรรม Men in literature ตัวละครเอกชาย Male protagonists แนวการเขียน Literary style |
วันที่เผยแพร่: | 2025 |
แหล่งอ้างอิง: | วารสารศิลปศาสตร์วิชาการและวิจัย 19,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 98-122 |
บทคัดย่อ: | ตัวละครชายในฝันเป็นองค์ประกอบสําคัญของละครโทรทัศน์ไทยประเภทพาฝัน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการนําเสนอตัวละครชายในฝันในละครโทรทัศน์ไทย พ.ศ. 2556 – 2565 จํานวน 12 เรื่องโดยใช้การวิจัยแบบวิเคราะห์เนื้อหาและนําเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ละครโทรทัศน์ไทย พ.ศ. 2556 – 2565 มีกลวิธีการนําเสนอตัวละครชายในฝัน 3 กลวิธี ได้แก่ 1) กลวิธีการนําเสนอตัวละครผ่านโครงเรื่องโดยการเปิดเรื่องด้วยการแนะนําด้านบวกของตัวละคร การดําเนินเรื่องคือให้ตัวละครเผชิญปัญหาและสามารถแก้ไขปัญหาจนสําเร็จ การปิดเรื่องด้วยการครองคู่ของตัวละครชายในฝันกับนางเอก 2) กลวิธีการนําเสนอตัวละครผ่านบุคลิกลักษณะภายนอกในด้านรูปร่างหน้าตาดี บุคลิกดี การแต่งกายที่เหมาะสม และการประกอบอาชีพที่มั่นคง 3) กลวิธีการนําเสนอตัวละครผ่านบุคลิกลักษณะภายใน คือ ความมีสติปัญญา ความกล้าหาญ ความมีน้ําใจ ความมีมารยาทเป็นสุภาพบุรุษ ความรับผิดชอบ ความอบอุ่นอ่อนโยน ความมีอารมณ์ขัน และความมีส่วนร่วมในการทํางานบ้าน ลักษณะทั้งหมดนี้ทําให้ละครโทรทัศน์ไทยประเภทพาฝนได้สร้ัางภาพแทนของผู้ชายในอุดมคติขึ้นมาให้แก่ผู้ชม The ideal male is a key element of romance in Thai television dramas. This research aims to analyze twelve dramas broadcasted from 2013 to 2022. Content analysis is applied as the research methodology, and findings are reported as descriptive. The research identifies three ways the ideal male is represented in the studied romance dramas, as follows: 1) Presentation through the plot, where positive characteristics of the male protagonist are shown in the exposition; during plot complications, the male protagonist encounters problems and successfully resolves them; the resolution typically ends with the happy marriage of the male protagonist and his true love.” 2) Presentation of outer appearances of the male protagonists, who are mainly portrayed as handsome, well-dressed - usually in uniforms, with good personalities and professional careers. 3) Presentation of inner characteristics, including wisdom, bravery, generosity, gentlemanly conduct, responsibility, kindness, humor, and being helpful with household tasks.” Through these three presentations, romance Thai television dramas have created representations of the ideal male in the minds of the audience. |
รายละเอียด: | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/274753/185901 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4312 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Liberal Arts - Articles Journals |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Representations-of-the-Ideal-Male-in-Thai-Television-Dramas-from-2013-to-2022.pdf | 94.67 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น