DSpace Repository

ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ที่มีต่อการเพิ่มเจตคติของนักศึกษาต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author วลัยรัตน์ ประจักษ์วิกรานต์
dc.contributor.author พิจิตรา ชัยสิงห์ประสาท
dc.contributor.author ชนิกา เจริญจิตต์กุล
dc.contributor.author ชฎาภา ประเสริฐทรง
dc.contributor.author Walairat Prajakwigran
dc.contributor.author Pichittra Chaisinghaprasat
dc.contributor.author Chanika Jaroenjitkul
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2023-01-03T07:48:20Z
dc.date.available 2023-01-03T07:48:20Z
dc.date.issued 1998
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1021
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยใช้กระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ โดยมีสมมุติฐานการวิจัยดังนี้คือ “นักศึกษาที่เข้าร่วมกระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ จะมีเจตคติที่ดีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเข้าร่วมกระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์” กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2539 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เฉพาะหลักสูตร 4 ปี จำนวน 31 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ที่คณะผู้วิจัยสร้างขึ้น และแบบประเมินผลกระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ดัดแปลงมาจากแบบประเมินผลที่สร้างขึ้นโดย นราพงศ์ ณ ลำพูน (2536) และ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มทดลอง ซึ่งวัดก่อนและหลังจากทดลอง โดยใช้การทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่านักศึกษาที่เข้าร่วมกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ ได้คะแนนจากแบบวัดเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสติติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01. th
dc.description.abstract The purpose of this research was to study the effects of Trotzer’s group counseling on increasing students attitude towards Huachiew Chalermprakiet University. Hypothesis was that students attitude after participation in Trotzer’s group counseling would increase significantly. The subjects were 31 undergraduate students attitude towards Huachiew Chalermprakiet University. Who had score on attitude towards Huachiew Chalermprakiet University test and were randomly assigned to the experimental group. The instruments for data collecting were the attitude towards Huachiew Chalermprakiet University test and the effects of Trotzer’s group counseling test which were development by the researcher. The T-test were applied to analyze the obtained data. Results revealed that experimental-group students had increased their attitude towards Huachiew Chalermprakiet University after participation in Trotzer’s group counseling correlated significantly at the .01 level.
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- นักศึกษา -- ทัศนคติ th
dc.subject Huachiew Chalermprakiet University -- Students -- Attitudes th
dc.subject การปรึกษาเชิงจิตวิทยา th
dc.subject การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม th
dc.subject Group counseling th
dc.subject การสำรวจทัศนคติ th
dc.title ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ที่มีต่อการเพิ่มเจตคติของนักศึกษาต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.title.alternative Effects of Trotzer's Group Counseling on Increasing Students Attitude towards Huachiew Chalermprakiet University th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account