dc.contributor.author |
ปิยฉัตร กลิ่นสุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
Piyachat Klinsuwan |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare |
th |
dc.date.accessioned |
2023-01-24T08:42:24Z |
|
dc.date.available |
2023-01-24T08:42:24Z |
|
dc.date.issued |
2016 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1095 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความรับผิดชอบ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพื่อทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความรับผิดชอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนวิชาบริหารโครงการในงานสังคมสงเคราะห์ภาคที่ 2 ปีการศึกษา 2557 คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติจํานวน 153 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .77 (2) แบบวัดลักษณะมุ่งอนาคต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .75 (3) แบบวัดความรับผิดชอบ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .78 และ (4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89 ผลการวิจัยพบว่า (1) โมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความรับผิดชอบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 =57.43, df=75, p-value=.93, GFI=.94, AGFI=.93, RMR= .050, and RMSEA = .00) (2) การรับรู้ความสามารถของตนเอง และลักษณะมุ่งอนาคตเป็นปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ส่งผ่านความรับผิดชอบ และความรับผิดชอบสามารถทํานายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้อยละ 47 |
th |
dc.description.abstract |
The purpose of this research is to analyze the causal relationship model of responsibility and learning achievement and test whether such model of responsibility influence on learning achievement coincides with the empirical data. The research sample consisted of 153 students in 2015 from the Faculty of Social Work and Social Welfare, Huachiew Chalermprakiet University. The research instruments were (1) the self-efficacy scale with a reliability coefficient (alpha) of .77 (2) the future orientation scale with a reliability coefficient (alpha) of .75 (3) the responsibility scale with a reliability coefficient (alpha) of .78 and (4) the learning achievement scale with a reliability coefficient (alpha) of .89. The research findings were as follows: (1) The causal model of responsibility of students fit the empirical data (χ2 =57.43, df= 75, p-value=.93, GFI=.94, AGFI=.93, RMR= .050, and RMSEA = .00) (2) The self-efficacy and the future orientation were causal factors and influence on learning achievement pass responsibility and responsibility predicted learning achievement 47% |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีการศึกษา 2558 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
การบริหารโครงการ |
th |
dc.subject |
Project management |
th |
dc.subject |
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน |
th |
dc.subject |
Academic achievement |
th |
dc.subject |
สังคมสงเคราะห์ |
th |
dc.subject |
Social Work |
th |
dc.title |
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความรับผิดชอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการในงานสังคมสงเคราะห์ |
th |
dc.title.alternative |
Causal Relationship of Responsibility Influence on Learning Achievement in Project Management in Social Work |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |