DSpace Repository

การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานและประเมินผลลัพธ์การบริบาลทางเภสัชกรรมสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ณ คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางบ่อ

Show simple item record

dc.contributor.author นิตยาวรรณ กุลณาวรรณ
dc.contributor.author ณิณ ประพงศ์เสนา
dc.contributor.author นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล
dc.contributor.author ธีรวุฒิ พงศ์เศรษฐไพศาล
dc.contributor.author Nittayawan Kulnawan
dc.contributor.author Nin Prapongsena
dc.contributor.author Nittida Pattarateerakul
dc.contributor.author Teerawut Pongsetpisan
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.date.accessioned 2023-01-25T06:58:22Z
dc.date.available 2023-01-25T06:58:22Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1098
dc.description.abstract การวิจัย เรื่อง การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานและประเมินผลลัพธ์การบริบาลทางเภสัชกรรมสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ณ คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางบ่อ เป็นงานวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ณ คลินิกผู้ป่ วยนอก และประเมินผลลัพธ์ด้าน ความร่วมมือในการใช้ยาการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด อาการไม่พึงประสงค์จากยา ระดับความมั่นใจในความสามารถปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน ในกลุ่มตัวอย่างที่เป็ นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีระดับน้ำตาลในเลือดตั้งแต่ 150 มิลลิกรัม/เดซิลิตรขึ้นไปในวันร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 130 คน ผลจากการวิจัย การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานการบริบาลทางเภสัชกรรมได้กำหนดให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องพบเภสัชกรหลังจากแพทย์ตรวจร่างกายแล้ว เพื่อเภสัชกรได้ทบทวนปัญหาจากการใช้ยาอย่างเป็นระบบ ให้คำแนะนำพฤติกรรมสุขภาพ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากยาการร่วมมือในการใช้ยา ผลการประเมินมีรายละเอียดดังนี้ ผู้ป่วยจ านวน 130 ราย อายุเฉลี่ย 61.3 ปี(±12.5) เป็นเพศหญิงร้อยละ 68.5 เป็นโรคเบาหวานนานมากกว่า 6 เดือนคิดเป็นร้อยละ 95.4 เมื่อเปรียบเทียบผลก่อนได้รับบริการ (เดือน0) และเดือนที่ 2 ของการได้รับบริการหนึ่งครั้ง พบว่าความร่วมมือในการใช้ยา (drug adherence) เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.09) แม้จำนวนผู้ป่วยรายงานภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำมีจ านวนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.021) แต่ผู้ป่วยสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องหยุดยา ส่วนคะแนนรวมของความมั่นใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการควบคุมโรคเบาหวานไม่เพิ่มขึ้น ระดับน้าตาลหลังอดอาหารที่วัดในเดือนที่ 2 เปรียบเทียบกับเดือน 0 พบว่าระดับน้าตาลลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.001) สรุป : การบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยเบาหวานประเภท 2 มีแนวโน้มเพิ่มประสิทธิภาพ การควบคุมระดับน้าตาลในเลือด เพิ่มความร่วมมือในการใช้ยาละการจัดการอาการไม่พึงประสงค์จากยา ซึ่งตัวชี้วัดต่างๆเหล่านี้เป็นสิ่งที่ต้องเฝ้าระวังและควรได้รับบริการย้าเตือน เพราะเป็นปัจจัยสำคัญในการควบคุมโรคเบาหวาน ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาผลลัพธ์ในระยะยาวด้วย th
dc.description.abstract The objective of this quasi-study was to develop the pharmaceutical care process and to evaluate the service impacts namely: drug adherence improvement, blood sugar control, self-monitoring of adverse drug reaction, and self-efficacy of diabetic control, among type 2 diabetic outpatients. The study was conducted at the diabetic ambulatory clinic of Bang Bo Hospital. The 130 eligible participants, diabetic patients with fasting blood sugar above 150 mg/dl at the beginning of the project, were recruited. Results: The description and mechanism of pharmaceutical care process at diabetic outpatient unit was developed. Having been checked up by physicians at the diabetic clinic, every patient visited clinical pharmacists in order to obtain systematic medication and adherence review, health behavior recommendation, self-monitoring and managing adverse drug reaction. The majority of demographic characteristics of 130 participants were followings: female (68.5%), ≥ 6 month diabetes (95.4 %), and 61.3 years (±12.5) of mean age. After the first clinical pharmacist visit of participants, the outcomes at the end of 2nd month were compared with the baseline values. The improvement of drug adherence was not statistically significant (p=0.09). Though the number of patients with hypoglycemic symptoms increased significantly (p=0.021), but they could managed them without medication discontinuation. The total score of self–efficacy in diabetic management was not increased. Comparing the fasting blood sugar of participants at 2nd month with the baseline value found that the reduction was statistically significant (p<0.001). Conclusion: The systematic pharmaceutical care service for type 2 diabetic patients trends to improve blood sugar control, medication adherence, and adverse drug reaction management. The further study of long term impact of this service should be evaluated. th
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2554 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject ผู้ป่วยเบาหวาน -- การใช้ยา th
dc.subject Diabetics -- Drug utilization th
dc.subject เบาหวาน -- การรักษาด้วยยา th
dc.subject Diabetics -- Drugs -- Therapeutic use th
dc.subject เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน th
dc.subject Non-insulin-dependent diabetes th
dc.subject การบริบาลทางเภสัชกรรม th
dc.subject Pharmaceutical services th
dc.title การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานและประเมินผลลัพธ์การบริบาลทางเภสัชกรรมสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ณ คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางบ่อ th
dc.title.alternative Development of Pharmaceutical Care Process and Impact Evaluation on Type 2 Diabetic Outpatients at a Diabetic Ambulatory Clinic of Bang Boa Hospital th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account