dc.contributor.author |
ยิ่งลักษณ์ วิรุณรัตนกิจ |
|
dc.contributor.author |
เสาวณีย์ วรวุฒางกูร |
|
dc.contributor.author |
Yingluk Wirunratanakij |
|
dc.contributor.author |
Saowanee Woravutrangkul |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy |
|
dc.date.accessioned |
2023-02-16T14:03:44Z |
|
dc.date.available |
2023-02-16T14:03:44Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1167 |
|
dc.description.abstract |
ความสําคัญและที่มาของงานวิจัย : Phonophoresis เป็นเทคนิคที่นิยมใช้ในการรักษาทางกายภาพบําบัด อย่างไรก็ตามยังไม่มีหลักฐานที่สนับสนุนประสิทธิภาพของการรักษาด้วยเทคนิคนี้ต่อการลดปวด นอกจากนี้ ยังไม่พบการศึกษาที่แสดงถึงความแตกต่างระหว่างการทายา diclofenac ก่อนและหลังการรักษารวมกับเทคนิคดังกล่าว งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการรักษาด้วยเทคนิค phonophoresis ด้วยยา diclofenac ทั้งแบบทายาก่อนและหลังการรักษากับการรักษาด้วยอัลตราซาวน์บําบัดเพียงอย่างเดียวต่อระดับกั้นของการรับรู้ความรู้สึกปวด วิธีวิจัย : การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่ม ปกปิดสองทางและไขว้กลุ่มทดลองโดยเทียบกับการรักษาแบบหลอก (randomized , double-blind, placebo controlled cross-over trial design) นี้ มีอาสาสมัครสุขภาพดีเข้าร่วมจํานวน 40 คน อายุระหว่าง 18 – 25 ปีการรักษาแ 4 กลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ทบ่งออกเป็นายา diclofenac ก่อน (PH1) และทายาหลัง (PH2) การรักษาด้วยเทคนิค phonophoresis กลุ่มที่รักษาด้วยอัลตราซาวน์บำบัด (US) และกลุ่มที่ทายา diclofenac เพียงอย่างเดียว (placebo US) ผู้เข้าร่วมการทดลองแต่ละคนได้รับการรักษาทั้ง 4 แบบ โดยสุ่มเลือกขั้นตอนการรักษา วัดค่าระดับกั้นของความรู้สึกปวดก่อนการรักษา หลังการรักษาทันทีและหลังการรักษา 15 นาที ผลการศึกษา : พบว่าค่าระดับกั้นของความรู้สึกปวดในกลุ่มที่ทายา diclofenac ทั้งก่อน (PH1)และหลังการรักษา (PH2) ด้วยเทคนิค phonophoresis เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) หลังการรักษา 15 นาทีนอกจากนี้ยังพบว่ากลุ่ม PH1 และ PH2 มีค่า PPT เพิ่มขึ้นหลังการรักษามากกว่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไดัรับการรักษาด้วยอัลตราซาวด์ำบำบัดเพียงอย่างเดียว (US) และทายาเพียงอย่างเดียว (placebo US) อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ทายาก่อนกับกลุ่มทายาหลังการรักษาด้วยเทคนิคนี้ สรุปผลการวิจัย : การรักษาเทคนิค phonophoresis ด้วยยา diclofenac ให้ผลเพิ่มค่าระดับกั้นของความรู้สึกปวด (PPT) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับการรักษาด้วยอัลตราซาวด์บําบัดหรือการทายาเพียงอย่างเดียว โดยผู้รักษาสามารถทายาได้ทั้งก่อนหรือหลังการรักษาด้วยเทคนิค phonophoresis |
th |
dc.description.abstract |
Background and Objective: Phonophoresis is technique which commonly used in physical therapy practice. However, evidence to support the effectiveness of this technique on pain relief is still unclear. In addition, there is no study about different between applying diclofenac before and after phonophoresis technique. The aim of this study is to compare the effectiveness of diclofenac phonophoresis, both before and after the treatment, with ultrasound therapy on pressure pain threshold (PPT). Materials and Method: , Forty healthy volunteers, age between 18 to 25 years oldparticipated in this randomized , double-blind, placebo controlled cross-over trial design. Treatment was divided into 4 groups as following; applying diclofenac before phonophoresis (PH1), applying diclofenac after phonophoresis (PH2), ultrasound therapy (US) and applying diclofenac only (placebo US).Each participant received these 4 treatments by randomly allocation process. PPT was measured at before, immediately after and 15 minutes after treatments. Results: There is significant increase in PPT (p<0.05) in both PH1 and PH2 groups after treatment for 15 minutes. Moreover, the increase in PPT after treatment in both PH1 and PH2 groups is significantly different (p<0.01) from US and placebo US groups. However, there is no statistically significance between PH1 and PH2 groups. Conclusion: Diclofenac phonophoresis can increase pressure pain threshold compared with ultrasound therapy or using diclofenac only. Therapists can applydiclofenac before or after the phonophoresis treatment. |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2555 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
กายภาพบำบัด |
th |
dc.subject |
Physical therapy |
th |
dc.subject |
ไดโคลฟีแนคโฟโทโพเรซิส |
th |
dc.subject |
Diclofencac Phonophoresis |
th |
dc.subject |
ความเจ็บปวด |
th |
dc.subject |
Pain |
th |
dc.subject |
คลื่นเหนือเสียง |
th |
dc.subject |
Ultrasonic waves |
th |
dc.title |
การศึกษาเปรียบเทียบผลของ Diclofencac Phonophoresis กับการรักษาด้วยอัลตร้าซาาวด์บำบัดต่อระดับกั้นของการรับความรู้สึกปวดในอาสาสมัครสุขภาพดี |
th |
dc.title.alternative |
Comparison the Efficacy of Diclofenac Phonophoresis and Ultrasound Therapy on Pressure Pain Threshold in Healthy Volunteer |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |