dc.contributor.author | อรวรรณ คุณสนอง | |
dc.contributor.author | นุชนาฎ ยูฮันเงาะ | |
dc.contributor.author | ปิยนุช พงษ์พรต | |
dc.contributor.author | Orawan Koonsanong | |
dc.contributor.author | Nutchanat Yuhanngoh | |
dc.contributor.author | Piyanoot Pongprot | |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare | |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare | |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare | |
dc.date.accessioned | 2023-02-17T12:16:13Z | |
dc.date.available | 2023-02-17T12:16:13Z | |
dc.date.issued | 1997 | |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1169 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และทราบข้อมูลความต้องการพัฒนาอาจารย์ในด้านการสอน การวิจัย การศึกษาต่อและการศึกษาดูงาน การอบรม ประชุมและสัมมนา และด้านการเผยแพร่ข่าวสารทางวิชาการ จะสามารถนำมาใช้ประกอบการพิจารณากำหนดแนวทางนโยบายในการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยหัวเฉลิมพระเกียรติ วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถาม ประชากรที่ทำการศึกษาได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี หัวหน้าสาขา และอาจารย์ที่ประจำอยู่ในคณะต่าง ๆ คือ บัณฑิตวิทยาลัยพยาบาลศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม ศิลปศาสตร์ บริหารธุรกิจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เภสัชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด และสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ในปีการศึกษา 2540 จำนวนทั้งสิ้น 157 คน โดยวิธีการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความต้องการจากค่าเฉลี่ย โดยการวิเคราะห์รายข้อและรวมแต่ละด้าน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ความต้องการพัฒนาการสอนของอาจารย์อยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.11) ความต้องการพัฒนาการเผยแพร่ข่าวสารทางวิชาการ อยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.16) ความต้องการพัฒนาการศึกษาต่อและการศึกษาดูงานอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.49) ความต้องการพัฒนาด้านการอบรมประชุม และสัมมนาอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.30) และความต้องการการพัฒนาด้านการวิจัย การเขียนตำรา และบทความทางวิชาการอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.27) 2.ความต้องการพัฒนาการสอน พบว่า คณะกายภาพบำบัด อาจารย์ที่มีระยะเวลาการทำงานต่ำกว่า 1 ปี และอาจารย์ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีความต้องการพัฒนาการสอนมากที่สุด 3.ความต้องการพัฒนาการเผยแพร่ข่าวสารทางวิชาการ พบว่าคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม อาจารย์ที่มีระยะเวลาการทำงาน 11-15 ปี และอาจารย์ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมีความต้องการเผยแพร่ข่าวสารทางวิชาการมากที่สุด 4.ความต้องการพัฒนาการศึกษาต่อและการศึกษาดูงาน พบว่าคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม อาจารย์ที่มีระยะเวลาการทำงานต่ำกว่า 1 ปี และอาจารย์ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมีความต้องการศึกษาต่อและการศึกษาดูงานมากที่สุด 5.ความต้องการพัฒนาการอบรม ประชุม และสัมมนา พบว่า คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ และสวัสดิการสังคม อาจารย์ที่มีระยะเวลาการทำงาน 11-15 ปี และอาจารย์ที่มีระดับการศึกษาปริญญาโท มีความต้องการมากที่สุด 6.ความต้องการพัฒนาการวิจัย การเขียนตำรา และบทความทางวิชาการ พบว่า คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม อาจารย์ที่มีระยะเวลาการทำงาน 21 ปีขึ้นไป และอาจารย์ที่มีระดับการศึกษาปริญญาโท มีความต้องการพัฒนาการวิจัยการเขียนตำรา และบทความทางวิชาการมากที่สุด | th |
dc.description.abstract | The objectives of this research are to study the staff development needs of Huachiew Chalermprakiet University in the following aspects : teaching skills, conducting research, further study and work observation, training, attending conferences, seminars and meetings, and receiving and distributing academic information. The result of this study in expected to be useful information for policy makers to determine the staff development policies. The methodology used in this study was survey technique using questionnaires. The study population included the president, vice presidents, deans, heads and every teaching staff member who work in nine faculties and one Graduate School in 1997 : Nursing, Social Works and Social Welfare, Liberal Arts, Business Administration, Science and Technology, Pharmacy, Medical Technology, Physical Therapy. Public and Environmental Health. The population size was 157. Mean and standard deviation were used to analyze data. The analyses were done for each particular aspect of need as well as for the subject as whole. The conclusions are as follows: 1.The need to develop teaching skills, to receive and distribute academic information, to go for further study and work observation, to attend seminars, conference and meeting, to develop skills in conducting research, writing academic essays and writing text books are at a high level. They have means of 4.11,4.16,4.19,4.30,4.27 respectively. 2.Focusing on the need to develop teaching skills, staff who have working experience less them 1 year and staff who have Bachelor’s degree qualification need to develop their teaching skills at the highest level relative to other groups. The staff in the Faculty of Physical Therapy have the highest level of need when compared those that of other faculties to staff in other faculties. 3.Focusing on the need to obtain and to distribute academic informating , staff who have working experience between 11-15 years and staff who have Bachelor’s degree qualifications need obtain and to distribute academic information at the highest level relative to those of other groups. The staff in the Faculty of Public and environmental health have the highest level of need when compared to those of other faculties 4.Focusing on the need further study and for work observation, the staff who have working experience below 1 year and who have Bachelor’s degree qualification have the highest level of need relative to other groups. The staff in The Faculty of Social Work and Social Welfare have the highest level of need when compared to those of other faculties 5.Focusing on the need to attend seminars, conference and meeting, the staff who have working experience between 11-15 years and who have Master’s degree qualification need to attend seminar, conferences and meetings at the highest level relative to other groups. Staff in the Faculty of Social Work and Social Welfare have the highest level of need when compared to those of the faculties. 6.Focusing on the need to develop the skills to conduct research, to writing text books and academic essay, staff who have working experience over 21 years and have master’s degree qualification have the highest level of need relative to other groups. The staff in the Faculty of Social Work and Social Welfare have the highest level of need when compared to those of other faculties. | th |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2540 | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | การพัฒนากำลังคน | th |
dc.subject | Manpower development | th |
dc.subject | อาจารย์มหาวิทยาลัย | th |
dc.subject | Universities and colleges -- Faculty | th |
dc.subject | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- อาจารย์ | th |
dc.subject | Huachiew Chalermprakiet University -- Faculty | th |
dc.title | การศึกษาความต้องการในการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.title.alternative | A Study of Need for Staff Development in Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.type | Technical Report | th |