DSpace Repository

ผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชฎาภา ประเสริฐทรง
dc.contributor.advisor ทวีศักดิ์ กสิผล
dc.contributor.advisor Chadapa Prasertsong
dc.contributor.advisor Taweesak Kasiphol
dc.contributor.author สุรสิทธิ์ แจ้งภักดี
dc.contributor.author Surasit Jangpakdee
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2023-03-09T04:29:41Z
dc.date.available 2023-03-09T04:29:41Z
dc.date.issued 2022
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1225
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2565 th
dc.description.abstract วิจัยฉบับนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 คัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้าจากนั้นจับคู่เข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 34 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ โปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบสอบถามรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 มีค่าความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .77 และ .86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired t-test และ Independent t-testผลการศึกษา พบว่า หลังการทดลองของกลุ่มทดลองมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ในระดับดี มีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 มากกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ส่วนหลังการทดลองของกลุ่มควบคุมมีทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับไม่เพียงพอและมีพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ก่อนและหลังการทดลองไม่ต่างกัน th
dc.description.abstract This research was a quasi-experimental research. The purpose of this research was to study the effect of a health literacy program on COVID-19 prevention behaviors. The sample consisted of type 2 diabetic patients. The sample were selected by specific inclusion criteria. Then they were paired into an experimental group and a control group of 34 people each. The experimental group received a health literacy program for 4 weeks and the control group received normal nursing care. The tool used was a health literacy program, health literacy questionnaire and COVID-19 prevention behaviors questionnaire. The content consistency was .67-1.00 and the confidence was .77 and .86 respectively. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, paired t-test and independent t-test The results of the study found that after the experiment, the experimental group had good knowledge of the health literacy and COVID-19 prevention behaviors and had a statistically significantly higher mean score on health literacy and COVID-19 preventive behaviors (p<.05). After the experiment, the control group had insufficient health literacy and moderate COVID-19 prevention behaviors. The control group had health literacy and COVID-19 prevention behaviors were the same before and after the experiment. th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject ความรอบรู้ทางสุขภาพ th
dc.subject Health literacy th
dc.subject โควิด-19 ‪(โรค)‬ th
dc.subject COVID-19 (Disease) th
dc.subject เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน -- ผู้ป่วย th
dc.subject Type 2 diabetes -- Patients th
dc.title ผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 th
dc.title.alternative The Effects of Health Literacy Program on COVID-19 Prevention Behaviors Type 1 Diabetes Mellitus Patients th
dc.type Thesis th
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account