dc.contributor.advisor |
ชฎาภา ประเสริฐทรง |
|
dc.contributor.advisor |
ทวีศักดิ์ กสิผล |
|
dc.contributor.advisor |
Chadapa Prasertsong |
|
dc.contributor.advisor |
Taweesak Kasiphol |
|
dc.contributor.author |
สุรสิทธิ์ แจ้งภักดี |
|
dc.contributor.author |
Surasit Jangpakdee |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
|
dc.date.accessioned |
2023-03-09T04:29:41Z |
|
dc.date.available |
2023-03-09T04:29:41Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1225 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2565 |
th |
dc.description.abstract |
วิจัยฉบับนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 คัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้าจากนั้นจับคู่เข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 34 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ โปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบสอบถามรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 มีค่าความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .77 และ .86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired t-test และ Independent t-testผลการศึกษา พบว่า หลังการทดลองของกลุ่มทดลองมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ในระดับดี มีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 มากกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ส่วนหลังการทดลองของกลุ่มควบคุมมีทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับไม่เพียงพอและมีพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ก่อนและหลังการทดลองไม่ต่างกัน |
th |
dc.description.abstract |
This research was a quasi-experimental research. The purpose of this research was to study the effect of a health literacy program on COVID-19 prevention behaviors. The sample consisted of type 2 diabetic patients. The sample were selected by specific inclusion criteria. Then they were paired into an experimental group and a control group of 34 people each. The experimental group received a health literacy program for 4 weeks and the control group received normal nursing care. The tool used was a health literacy program, health literacy questionnaire and COVID-19 prevention behaviors questionnaire. The content consistency was .67-1.00 and the confidence was .77 and .86 respectively. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, paired t-test and independent t-test The results of the study found that after the experiment, the experimental group had good knowledge of the health literacy and COVID-19 prevention behaviors and had a statistically significantly higher mean score on health literacy and COVID-19 preventive behaviors (p<.05). After the experiment, the control group had insufficient health literacy and moderate COVID-19 prevention behaviors. The control group had health literacy and COVID-19 prevention behaviors were the same before and after the experiment. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ความรอบรู้ทางสุขภาพ |
th |
dc.subject |
Health literacy |
th |
dc.subject |
โควิด-19 (โรค) |
th |
dc.subject |
COVID-19 (Disease) |
th |
dc.subject |
เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน -- ผู้ป่วย |
th |
dc.subject |
Type 2 diabetes -- Patients |
th |
dc.title |
ผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
th |
dc.title.alternative |
The Effects of Health Literacy Program on COVID-19 Prevention Behaviors Type 1 Diabetes Mellitus Patients |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน |
th |