dc.contributor.author |
สุธีรา ญานะโส |
|
dc.contributor.author |
นพวัฒน์ เพ็งคำศรี |
|
dc.contributor.author |
อรัญญา จุติวิบูลย์สุข |
|
dc.contributor.author |
ภูริต ธนะรังสฤษฏ์ |
|
dc.contributor.author |
Suthira Yanaso |
|
dc.contributor.author |
Noppawat Pengkumsri |
|
dc.contributor.author |
Aranya Jutiviboonsuk |
|
dc.contributor.author |
Phurit Thanarangsarit |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2023-03-19T04:26:01Z |
|
dc.date.available |
2023-03-19T04:26:01Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1271 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของสมุนไพรไทยสำหรับป้องกันและฟื้นฟูโรคอัลไซเมอร์ โดยการประเมินฤทธิ์ยับยั้งอะเซทิลโคลีนเอสเทอเรสของน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดหยาบจากข่าที่ปลูกในจังหวัดสมุทรปราการ น้ำมันหอมระเหยได้จากการสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำจากเหง้าข่าสด ในขณะที่สารสกัดหยาบได้จากการสกัดลำต้นเทียมและเหง้าข่าแห้งด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ 4 ชนิด ได้แก่ เฮกเซน ไดคลอโรมีเทน เอทิลอะซิเตตและเอทานอลด้วยชุดสกัด Soxhlet เมื่อนำน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดหยาบจากข่าไปทดสอบฤทธิ์ยับยั้งอะเซทิลโคลีนเอสเทอเรสด้วย modified Ellman's method โดยใช้ donepezil HCl เป็นสารมาตรฐาน พบว่าสารจากลำต้นเทียมข่าที่สกัดด้วยไดคลอโรมีเทนและน้ำมันหอมระเหยจากเหง้าข่ามีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ได้ดี โดยมีค่า IC50เท่ากับ 0.16 และ 0.28 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ดังนั้นสารสกัดทั้ง 2 ชนิดนี้จึงมีความน่าสนใจในการนำไปวิจัยเพิ่มเติมเพื่อประเมินฤทธิ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ ซึ่งอาจนำไปสู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยอัลไซเมอร์ในอนาคต |
th |
dc.description.abstract |
The objective of this research is to improve the potential of Thai herb for prevention and rehabilitation of Alzheimer's disease. Essential oil and crude extract of Alpinia galanga (L.) Willd cultivated in Samutprakan province was subjected to determine acetylcholinesterase inhibitory activity using modified Ellman's method. The essential oil was extracted from fresh galangal rhizomes by hydrodistillation, whereas the crude extracts of dried galangal pseudostem and rhizome were obtained from Soxhlet extraction using hexane, dichloromethane, ethyl acetate and ethanol as solvents. Donepezil HCl was used as the reference compound. The results showed that the dichloromethane extract from galangal pseudostems and the essential oil from galagal rhizomes exhibited great inhibitory effect against acetylcholinesterase with IC50 values of 0.16 and 0.28 mg/mL, respectively. Consequently, both of these extracts are interesting for further investigation in other testing activities against Alzheimer's disease. These findings may lead to the development of beneficial herbal products for Alzheimer's patients in the future. |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2559 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ข่า (พืช) |
th |
dc.subject |
Languas galanga |
th |
dc.subject |
อะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส |
th |
dc.subject |
Acetylcholinesterase |
th |
dc.subject |
น้ำมันหอมระเหย |
th |
dc.subject |
Essences and essential oils |
th |
dc.subject |
โรคอัลไซเมอร์ |
th |
dc.subject |
Alzheimer's disease |
th |
dc.title |
การประเมินฤทธิ์ยับยั้งอะเซทิลโคลีนเอสเทอเรสของน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดหยาบจากข่าที่ปลูกในจังหวัดสมุทรปราการ |
th |
dc.title.alternative |
Evaluation of Acetylcholinesterase Inhibitory Activity of Essential Oil and Crude Extract of Alpinia galanga (L.) Wild Cultivated in Samutprakan Province |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |