dc.contributor.author |
ซือ, หงเยี่ยน |
|
dc.contributor.author |
สุวิมล ผลชารี |
|
dc.contributor.author |
อัจฉราภรณ์ สุริเมือง |
|
dc.contributor.author |
ธนกร ชาญนุวงค์ |
|
dc.contributor.author |
โก, ซึงเท็ก |
|
dc.contributor.author |
Shi Hong Yan |
|
dc.contributor.author |
Suwimon Phoncharee |
|
dc.contributor.author |
Acharaporn Surimaung |
|
dc.contributor.author |
Thanakorn Channuvong |
|
dc.contributor.author |
Go Sung Teak |
|
dc.contributor.author |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Chinese Medicine |
|
dc.contributor.author |
林育昇 |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Chinese Medicine |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Chinese Medicine |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Chinese Medicine |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Chinese Medicine |
|
dc.date.accessioned |
2023-03-31T04:16:32Z |
|
dc.date.available |
2023-03-31T04:16:32Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1303 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการฝังเข็มและการฝังเข็มร่วมกับการนวดทุยหนาในสูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ที่อยู่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ จำนวน 61 ราย (หญิง 39 ราย ชาย 22 ราย) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มควบคุม 30 ราย รักษาด้วยการฝังเข็มเพียงสัปดาห์ละครั้ง ครั้งละ20 นาที กลุ่มทดลอง 31 ราย รักษาด้วยการฝังเข็ม 20 นาที และนวดทุยหนา 10-15 นาที สัปดาห์ละครั้ง ระยะเวลาการรักษาของทั้งสองกลุ่มคือ 8 สัปดาห์ และได้รับการประเมิน ด้วยแบบสอบถาม Western Ontario และ McMaster Universities Arthritis Index (WOMAC) ก่อนการรักษา(0), 3, 5 และ 9 สัปดาห์หลังการรักษา และวิเคราะห์ผลด้วย โปรแกรม SPSS 21.0 พบว่า อายุเฉลี่ยของกลุ่มทดลอง คือ 66.09 ปี ดัชนีมวลกาย (BMI) เท่ากับ 25.93 กก./ตร.ม. ระยะเวลาของอาการอยู่ที่ 4.64 ปี ในกลุ่มควบคุมอายุเฉลี่ย 64.86 ปี BMI 26.48 กก./ตร.ม. และระยะเวลาแสดงอาการ 4.00 ปี ผลปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติระหว่าง 2 กลุ่ม ที่อายุเฉลี่ย BMI และระยะเวลาของอาการ (P>0.05) ผลการวิจัยพบว่าการรักษาของทั้งสองกลุ่ม ทำให้อาการปวดลดลงและการทำงานของข้อดีขึ้น (P<0.001); คะแนน WOMAC ของการบรรเทาอาการปวดแสดงให้เห็นความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (P<0.001); กลุ่มทดลองสามารถเพิ่มความสามารถในการทำงานของข้อเข่า คะแนน WOMAC หลังการรักษาดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (P<0.001) แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับอาการข้อฝืดข้อยึด (P>0.05) ผลการศึกษาโดยรวม พบว่า คะแนน WOMAC ในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.001) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมสรุป: การฝังเข็มร่วมกับการนวดทุยหนาในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นทางเลือกในการรักษาที่มีประสิทธิผลและให้ผลการรักษาที่ดีกว่าการฝังเข็มเพียงอย่างเดียว |
th |
dc.description.abstract |
The objective of this study was to determine the effectiveness of acupuncture and acupuncture combined with Tui Na massage for elderly patients with knee osteoarthritis. 61 patients from Bangpli district, Samutprakarn province (women 39 cases, men 22 cases) were divided into two groups: 30 cases of control group were treated by acupuncture alone once a week, 20 minutes per one time. 31 cases of the treatment group were treated by acupuncture for 20 minutes and TuiNa massage for 10-15 minutes, once a week, duration of treatment in both groups were 8 weeks. The Western Ontario and McMaster Universities Arthritis Index (WOMAC) was assessed before and at 0, 3, 5 and 9 weeks after treatment. SPSS 21.0 program was used to analyze the result. The average age of the treatment group was 66.09 years, body mass index (BMI) was 25.93 kg/m2, duration of symptoms was 4.64 years; in the control group average age was 64.86 years, BMI 26.48 kg/m2, and duration of symptoms was 4.00 years, the result showed there was not statistically difference between the two groups (P>0.05) on average age, BMI, and duration of symptoms. The result showed the treatment in two groups improved pain and function (P<0.001); the WOMAC score of pain relieving showed statistically significant difference between treatment group and control group (P<0.001); the treatment group can significant improved knee function and total WOMAC score after treatment compared with the control group (P<0.001); but there was no statistically significant difference on joint stiffness symptom (P>0.05). The result showed WOMAC score in the treatment group was significant decreased (P<0.001) compare with the control group. Conclusion: Acupuncture combined with Tui Na massage in the treatment of knee osteoarthritis was the effectiveness treatment option and had a better therapeutic effect than acupuncture alone. |
th |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2561 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
การฝังเข็ม |
th |
dc.subject |
Acupuncture |
th |
dc.subject |
ทุยหนา (การนวด) |
th |
dc.subject |
Tui Na massage |
th |
dc.subject |
ข้อเสื่อม |
th |
dc.subject |
Osteoarthritis |
th |
dc.subject |
ผู้สูงอายุ |
th |
dc.subject |
Older people |
th |
dc.title |
การศึกษาประสิทธิผลการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการฝังเข็มร่วมกับการนวดทุยหนาในผู้สูงอายุ เขตอำเภอ บางพลี จ. สมุทรปราการ |
th |
dc.title.alternative |
A Study of the Effectiveness for Osteoarthritis with Acupuncture and Tuina Massage in the Elderly People in Bang Phli District, Samut Prakan |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |