DSpace Repository

ความเป็นพิษเฉียบพลันและการกลายพันธุ์จากสารมลพิษในน้ำและตะกอนดินกรณีศึกษา คลองชวดหมัน จังหวัดสมุทรปราการ

Show simple item record

dc.contributor.author วรางคณา วิเศษมณี ลี
dc.contributor.author กาญจนา หริ่มเพ็ง
dc.contributor.author Varangkana Visesmanee Lee
dc.contributor.author Karnjana Hrimpeng
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health th
dc.contributor.other Burapha University. Faculty of Science th
dc.date.accessioned 2023-04-07T09:56:53Z
dc.date.available 2023-04-07T09:56:53Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1335
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลัน ที่เกิดจากสารมลพิษรวมในน้ำจากคลองชวดหมัน โดยใช้เมล็ดข้าว โดยเปรียบเทียบระดับความเป็นพิษเฉียบพลันจากค่ายับยั้งการงอกที่ 50% (Inhibition Concentration at 50%: IC[subscript 50]) ของการงอกและความยาวราก ร่วมกับการทดสอบการกลายพันธุ์ด้วยวิธีเอมส์ (Ames test) นอกจากนี้ยังศึกษาคุณภาพน้ำและตะกอนดินเบื้องต้นทางกายภาพ เคมี และชีวภาพรวมทั้งปริมาณโลหะชนิดต่างๆ จากผลการศึกษาพบว่าคุณภาพน้ำทางกายภาพของคลองชวดหมัน มีค่าพีเอช (pH) อยู่ในช่วง 6.40-8.03 และค่าสภาพนำไฟฟ้า (Conductivity) อยู่ในช่วง 1076-3660 uS/cm คุณภาพน้ำทางเคมีพบว่ามีความเข้มข้นของไนเตรต (Nitrate) อยู่ในช่วง 23.23-45.88 mg/I Chemical Oxygen Demand (COD) อยู่ในช่วง 166.4-873.6 mg/I และแอมโมเนีย (Ammonia) อยู่ในช่วง 0.49-7.12 mg/1 สำหรับคุณภาพน้ำทางชีวภาพในน้ำ พบว่า มีปริมาณแบคทีเรียอยู่ในระดับที่ไม่สามารถนำมาอุปโภค บริโภคได้ นอกจากนี้ ปริมาณโลหะในน้ำคลองชวดหมัน พบโลหะที่เกินเกณฑ์มาตรฐานน้ำผิวดินประเภทที่ 3 ของประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) คือ ตะกั่ว (Lead) และสารหนู (Arsenic) ซึ่งมีความเข้มข้นที่ 0.11 และ 0.01 mg/I ตามลำดับ สำหรับคุณภาพตะกอนดินทางกายภาพและเคมีของคลองชวดหมันพบว่า มีค่าพีเอช (pH) อยู่ในช่วง 7.42-8.05 ความเข้มจ้นของไนเตรต (Nitrate) และแอมโมเนีย (Ammonia) อยู่ในช่วง 42.22-51.72 และ 32.76-103.45 mg-Nkg dry sediment ตามลำดับ สำหรับปริมาณโลหะหนักในตะกอนดิน พบว่า ปรอทมีค่ามากที่สุด คือ 0.5846 ug/kg ระดับความเป็นพิษของสารมลพิษรวมในน้ำคลองชวดหมัน พิจารณาจากค่า IC[subscript 50] ของการงอกของเมล็ดข้าว พบว่า อยู่ในช่วง 53.65-241.99% และค่า IC[subscript 50] ของความยาวรากมีค่าอยู่ในช่วง 143.8-487.16% ในขณะที่ความเป็นพิษเฉียบพลันของตะกอนดินคลองชวดหมันเมื่อพิจารณาจากค่า IC[subscript 50] เช่นกันอยู่ในช่วง 44.85-92.85% และ 70.82%-358.73% สำหรับการงอกและความยาวราก ตามลำดับ นอกจากนี้สารมลพิษรวมที่อยู่ในน้ำและตะกอนดิน ไม่พบว่าเป็นสารก่อกลายพันธุ์ เมื่อทำการทดสอบด้วยวิธีเอมส์ (Ames test) th
dc.description.abstract The objective of this research was conducted the acute toxicity of total pollutants of the surface water from Chuad Mhun Canal using rice seed as an indicator. The toxicity was compared by the values of the Inhibition Concentration at 50% (IC[subscript 50]) of Seed germination and Root elongation, including mutagenicity was tested by Ames test. In addition, the water quality in term of physical chemical and biological characteristics including metal quantity was measured. The results of this research found that the water quality in term of physical characteristic, these were the pH and conductivity were found to be 6.40-8.03 and 1,076-3,660 uS/cm, respectively. In addition, the water quality in term of chemical characteristic, these were Nitrate, Chemical Oxygen Demand (COD) and Ammonia were found to be 23.23-45.99, 166.4-873.6 and 0.49-7.12 mg/I, respectively. In addition, the biological characteristic of surface water interpreted that bacterial count was in the non-comsumable range. The metal concentration in surface of Chuad Mhun Canal which exceeded than the surface water standard of The Notification of Environmental Committee, Copy 8 (B.E., 2537) were Lead and Arsenic at the concentration of 0.11 and 0.01 mg/I, respectively. The physical and chemical characteristic of sediment which measured from pH, Nitrate and Ammonia were found to be 7.42-8.05, 42.22-51.72 and 32.76-103,45 mg - Nkg dry sediment, respectively. The highest concentration of metal in sediment was Mercury with the concentration of 0.5846 ug/kg dry weight. The toxicity level of total pollutants in surface water, Chuad Mhun Canal was considered by Inhibition Concentration at 50% (IC[subscript 50]) of seed germination and root elongation. They were found to be 53.65-241.99% and 143.8-487.16% for seed germination and root elongation, respectively. While toxicity level of total pollutants in sediment were found to be 44.85-92.85% and 70.82%-358.73% for seed germination and root elongation, respectively. In addition, these pollutants did not affect as mutagen when tested with Ames test. th
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2552 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject มลพิษทางน้ำ -- ไทย th
dc.subject Water pollution -- Thailand th
dc.subject คลองชวดหมัน (สมุทรปราการ) th
dc.subject Chuad-mhun Canal (Samut Prakarn, Thailand) th
dc.subject คลอง -- ไทย -- สมุทรปราการ th
dc.subject Canals -- Thailand -- Samut Prakarn th
dc.subject ตะกอน (ธรณีวิทยา) th
dc.subject Sediments (Geology) th
dc.subject ตะกอนแม่น้ำ th
dc.subject River sediments th
dc.subject พิษวิทยาสิ่งแวดล้อม th
dc.subject Ecotoxicology th
dc.subject การกลายพันธุ์ th
dc.subject Mutation (Biology) th
dc.title ความเป็นพิษเฉียบพลันและการกลายพันธุ์จากสารมลพิษในน้ำและตะกอนดินกรณีศึกษา คลองชวดหมัน จังหวัดสมุทรปราการ th
dc.title.alternative Acute Toxicity and Mutagenicity of Pollutants in Water and Sediment : Case Study of Chuad-mhun Canal Samutprakarn Province th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account