dc.contributor.advisor |
กฤตวรรณ สาหร่าย |
|
dc.contributor.advisor |
Kittawan Sarai |
|
dc.contributor.author |
พรทิพย์ กันทู |
|
dc.contributor.author |
Pronthip Kanthu |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-28T04:29:17Z |
|
dc.date.available |
2023-09-28T04:29:17Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1415 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (สส.ม.) (การบริหารสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉลียวเฉลิมพระเกียรติ, 2566 |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษาเรื่อง การพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของเยาวชน มูลนิธิพระหฤทัยอุปถัมภ์ บ้านสวนพระหฤทัยลำปาง มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดระดับกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจของเยาวชนและวัดระดับความเข้มแข็งทางใจของของเยาวชนของมูลนิธิพระหฤทัยอุปถัมภ์ บ้านสวนพระหฤทัยลำปาง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นเยาวชนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 26 คน ของมูลนิธิพระหฤทัยอุปถัมภ์บ้านสวนพระหฤทัยลำปาง เป็นเพศชาย 2 คนและเพศหญิง จำนวน 24 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความเข้มแข็งทางใจระยะก่อนและหลัง การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจโดยใช้สถิติ t-test (Paired Samples-t-test) ผลการวิจัย พบว่า การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการทดลองก่อนและหลังการจัดกิจกรรมความเข้มแข็งทางใจ ผลการทดลองก่อนและหลังของการเข้าร่วมกิจกรรมความเข้มแข็งทางใจ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของเยาวชนควรมีลักษณะดังนี้1) กิจกรรมควรทำให้เกิดการยอมรับและเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง,เห็นคุณค่าในตนเอง ฝึกกระบวนการคิดเชิงเหตุผล 2) ระยะเวลาที่ใช้ในกิจกรรมควรมีความต่อเนื่องสมํ่าเสมอและอาจต้องใช้ระยะเวลายาวนานในการดำเนินกิจกรรมถึงจะเห็นผลลัพธ์เพราะเป็นเรื่องการเติบโตภายในของตัวเด็กทั้งกระบวนการคิด อารมณ์และจิตใจ 3) กิจกรรมควรส่งเสริมให้เกิดการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกิดการปรับตัวเข้าใจตนเองและผู้อื่นฝึกทักษะทางสังคมและทักษะการใช้ชีวิต 4) สร้างสัมพันธภาพและความไว้วางใจให้เกิดขึ้นระหว่างผู้ดำเนินกิจกรรมกับเด็กและเยาวชนเพื่อให้การดำเนินกิจกรรมได้รับการตอบสนองที่ดี และ 5) การดำเนินกิจกรรมควรคำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล |
th |
dc.description.abstract |
The study on the Development of Activities Improving Mental Health of the Youth at the Sacred Heart Foundation, Ban Suan Sacred Heart Lampang, aims to measure the level of mental strength of youth and the level of activities to strengthen the mental strength of youth. The population and sample consisted of 26 junior high school youths of the Sacred Heart Foundation, Baan Suan Phraharuthai Lampang consisted of 2 males and 24 females. Data were collected using a questionnaire and mental strength assessment. Data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean and standard deviation and analyze the mental strength before and after the activity to strengthen the mental strength by using the statistical t-test (Paired Samples-t-test). The comparison of the differences of the experimental results before and after participating in the mental strength activities, there were no differences in the experimental results before and after participating in the mental strength activities. Statistically significant at the 0.05 level. The development of activities for strengthening youth's mental strength should have the following characteristics: 1) The activities should create true self-acceptance and understanding, self-esteem, and rational thinking processes. 2) The duration of the activities should be continuous and consistent, and it may take a long time for the activities to see results because it is about the inner growth of the child, both thinking processes. Emotional and mental 3) activities should promote belonging to the group, adaptation and understanding of oneself and others, practice social skills and lifeskills4) build relationships and trust between the operators and children and youth in order to get good responses to the activities, and 5) activities should take into account individual differences. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
เยาวชน |
th |
dc.subject |
Youth |
th |
dc.subject |
สุขภาพจิต |
th |
dc.subject |
Mental health |
th |
dc.subject |
เยาวชน -- ไทย |
th |
dc.subject |
Youth -- Thailand. |
th |
dc.subject |
การพัฒนาเยาวชน |
th |
dc.subject |
Youth development |
th |
dc.subject |
การปรับตัวทางสังคมในวัยรุ่น |
th |
dc.subject |
Social adjustment in adolescence |
th |
dc.subject |
บ้านสวนพระหฤทัยลำปาง |
|
dc.subject |
Thailand. Ban Suan Sacred Heart Lampang |
|
dc.title |
การพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของเยาวชนมูลนิธิพระหฤทัยอุปถัมภ์บ้านสวนพระหฤทัยลำปาง |
th |
dc.title.alternative |
Development of Activities Improving Mental Health of The Youth at The Sacred Foundation, Ban Suan Sacred Heart Lampang |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การบริหารสวัสดิการสังคม |
th |