DSpace Repository

สิทธิทางการศึกษากับการจัดการศึกษาแบบให้เปล่าของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ธนาชัย สุนทรอนันตชัย
dc.contributor.author Thanachai Suntonanantachai
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law th
dc.date.accessioned 2023-12-14T12:56:05Z
dc.date.available 2023-12-14T12:56:05Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.citation วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 5,2 2558, 81-96 th
dc.identifier.issn 2286-6965
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1495
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157983/114399
dc.description.abstract บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสิทธิทางการศึกษากับการจัดการศึกษาแบบให้เปล่าของประเทศไทย โดยการศึกษาผู้เขียนพบว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในอดีตนั้นมิได้กำหนดให้การได้รับการศึกษาแบบให้เปล่าของบุคคลเป็นสิทธิเสรีภาพ แต่กำหนดในรูปแบบของแนวนโยบายแห่งรัฐ จนกระทั่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงได้มีการบัญญัติให้เป็นสิทธิทางการศึกษา โดยกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย อันมีความสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศที่ไทยเป็นภาคี และในเวลาต่อมาจึงได้มีการนำมาบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ สืบเนื่องมาจนถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ จวบจนปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาการดำเนินนโยบายของรัฐเพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายนั้นเกิดปัญหาหลายประการ ทั้งในด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอ คุณภาพของการศึกษาที่แย่ลง การจัดการศึกษาที่ไม่ได้ให้เปล่าอย่างแท้จริง ผู้เขียนจึงเห็นควรให้การกำหนดสิทธิในการได้รับการศึกษาแบบให้เปล่าของบุคคลนั้นลดจำนวนปีลงเหลือไม่น้อยกว่าเก้าปี และเน้นไปที่การจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนจบระดับประถมศึกษา ซึ่งเป็นช่วงวัยที่มีความสำคัญต่อการสร้างพัฒนาการสำหรับเด็ก ตลอดจนเพื่อให้รัฐสามารถพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาให้เป็นไปอย่างทั่วถึง และไม่เก็บค่าใช้จ่ายได้สมดังเจตนารณ์ของกฎหมาย th
dc.description.abstract This article intends to study the right to education and the free-of charge education in Thailand. It is found that instead of the educational right, the former constitution of the Kingdom of Thailand was laid down the state policies for this point of view. Yet, the matter of fact, being the party of the convention, the legal concept would be changed by the constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2540 (1997) to confirm that the government must support Thai people for an equally thorough and quality basic education without charge and not less than twelve years. After that, this law policy was regulated by the National Education Act, B.E. 2542(1999) and the constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550 (2007). It is obvious that, however, Thailand faces insufficiency budget, poor quality of education and untruly free education. Therefore, it should play an important role to subsidize the free-of-change at least 9 years and focus on the pre-primary and primary schools. This is because of appropriate development of children that the government could hand in glove with every part of Thailand. th
dc.language.iso th th
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject การศึกษา – ไทย th
dc.subject สิทธิในการศึกษา th
dc.subject ความเสมอภาคทางการศึกษา th
dc.subject Right to education -- Thailand th
dc.subject Educational equalization – Thailand th
dc.subject Education – Thailand th
dc.title สิทธิทางการศึกษากับการจัดการศึกษาแบบให้เปล่าของประเทศไทย th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account