DSpace Repository

โฆษณาเปรียบเทียบ (Comparative Advertising) แข่งขัน หรือ หลอกหลวง ?

Show simple item record

dc.contributor.author สักกพันธุ์ จิตรจง
dc.contributor.author ภัทรพร เย็นบุตร
dc.contributor.author Pattaraporn Yenbutra
dc.contributor.other Surat Thani Provincial Court th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law th
dc.date.accessioned 2023-12-14T13:12:10Z
dc.date.available 2023-12-14T13:12:10Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.citation วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 5,1, 2557 :62-69 th
dc.identifier.issn 2286-6965
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1497
dc.description.abstract การโฆษณาเปรียบเทียบอันได้แก่การโฆษณาที่นำเสนอข้อมูลให้เห็นว่าสินค้าหรือบริการของผู้โฆษณาเปรียบเทียบดีกว่าสินค้าหรือบริการของผู้อื่น ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยพบว่ายังไม่เป็นที่นิยมมากนัก ทั้งที่ในทัศนะของผู้เขียนเห็นว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งด้วยว่าเป็นเครื่องมือแสดงให้ผู้บริโภครับทราบข้อมูลที่เป็นจริง และสะดวกในการตัดสินใจเลือกสินค้าหรือบริการที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภค เมื่อ พิจารณาถึงหลักเกณฑ์ในกฎหมายไทย ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กฎหมายว่าด้วยการโฆษณา เช่น พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒, พระราชบัญญัติว่าด้วยอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒, พระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๐), พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๓๑, พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๓๕, พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ หรือพระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. ๒๕๔๒ แล้ว จะเห็นได้ว่ากฎหมายเหล่านี้มิได้กำหนดหลักเกณฑ์ห้ามการโฆษณาเปรียบเทียบไว้ หากแต่เมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ เช่น กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศในกลุ่มประชาคมยุโรป พบว่ากฎหมายของประเทศดังกล่าวอนุญาตให้โฆษณาเปรียบเทียบไว้ชัดเจน ในขณะที่ประเทศไทยนอกจากไม่มีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนแล้ว ยังสร้างขั้นตอนตรวจพิจารณาโฆษณาก่อนถ่ายทำ (Pre Censor) และโฆษณาที่ทำเสร็จแล้วเพื่อเตรียมออกอากาศ (Post Censor) สำหรับโฆษณาบางประเภทอันเป็นอุปสรรคต่อการสร้างสรรค์โฆษณาเปรียบเทียบ th
dc.description.abstract The comparative advertising which can refer to someone who aims to advertise his product and service information showing that its product and service are greater than those provided by another manufacturer has not been widely broaden and been more popular in Thailand. However, in the author's view, it might be very useful to provide the comparative advertising because this can significantly support people to make a good decision. Unfortunately, it is found that some related Thai laws have never promoted the comparative advertising such as the Constitution of the Kingdome of Thailand 2550 the Consumer Protection Act 2522, the Food Act 2522, the Medicines Act 2510 (amended 2530), Medical Devices Act 2531, Cosmetics Act 2535, the Dangerous Substances Act 2535, the Civil and Commercial Code and the Criminal Code, the 'Trademark Act 2534, as amended, and the Competition Act of 2542; meanwhile, the comparative advertising has been effectively promoted in US and EU. In this regard, Thai law is different from other countries because Thailand has established a procedure to check the advertisement before filming known as Pre Censor and advertising done in preparation for broadcast known as Post Censor for certain types of advertisement as a barrier to the creation of comparative advertising. th
dc.language.iso th th
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject โฆษณาเปรียบเทียบ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ th
dc.subject Comparative advertising -- Law and legislation th
dc.subject กฎหมายโฆษณา th
dc.subject Advertising laws th
dc.title โฆษณาเปรียบเทียบ (Comparative Advertising) แข่งขัน หรือ หลอกหลวง ? th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account