DSpace Repository

ที่มาทางอำนาจขององค์กรตุลาการในการพิจารณาคดีทางการเมือง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ : ศาลรัฐธรรมนูญ

Show simple item record

dc.contributor.author ทวนชัย โชติช่วง
dc.contributor.author Thuanchai Chotchoung
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law th
dc.date.accessioned 2023-12-14T13:27:36Z
dc.date.available 2023-12-14T13:27:36Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.citation วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 4,2, 2557 : 88-102 th
dc.identifier.issn 2286-6965
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1499
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157895/114349
dc.description.abstract การที่องค์กรตุลาการอย่างศาลรัฐธรรมนูญมีบทบาทสำคัญในการทำหน้าที่ควบคุมและตรวจสอบอำนาจรัฐ การคัดเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญผู้ซึ่งทำหน้าที่ในการพิจารณาคดีทางการเมืองควรจะมีที่มาจากสถาบันทางการเมืองที่มาจากประชาชน นั้นคือ ตุลาการรัฐธรรมนูญควรจะมีที่มาจากสภาแทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐบาล ในสัดส่วนอย่างละจำนวนที่เท่าๆ กัน แต่สำหรับประเทศไทย ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีที่มาจากสถาบันทางการเมืองเพียงสถาบันเดียวคือ วุฒิสภา ซึ่งเป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ในการคัดเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่มาจากบุคคล ๔ กลุ่ม ได้แก่ (๑ กลุ่มผู้พิพากษาจากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาจำนวน ๓ คน (๒) กลุ่มดุลาการจากที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด จำนวน ๒ คน (๓) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ จำนวน ๒ คน และ (๔) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์ จำนวน ๒ คน ซึ่งในกลุ่มของผู้ทรงคุณวุฒิจะต้องผ่านการลงมติเห็นชอบจากวุฒิสภา แต่ในกลุ่มที่มาจากที่ผู้พิพากษาที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา และตุลาการที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด ไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภา แต่เมื่อเปรียบเทียบกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศเยอรมนี ประเทศสเปน และฝรั่งเศส ต่างมีที่มาจากสถาบันทางการเมือง ๓ สถาบัน คือ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐบาล ดังนั้นจากข้อมูลตังกล่าวจึงสามารถสรุปได้ว่า ที่มาของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญประเทศไทย ไม่ได้มาจากสถาบันการเมืองที่มาจากประชาชนอย่างสมบูรณ์ โดยผู้เขียนมีความคิดเห็นว่าควรมีการนำรูปแบบการคัดเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จากประเทศเยอรมนี และประเทศสเปนมาใช้ หรือ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญควรมีที่มาจากสถาบันทางการเมืองที่มาจากประชาชน แต่เนื่องด้วยในปัจจุบันที่วุฒิสภาได้ทำหน้าที่ในการคัดเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในปัจจุบันแล้ว ผู้เขียนจึงขอเสนอแนะให้กลุ่มตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่มาจากผู้พิพากษาประชุมใหญ่ศาลฎีกา และตุลาการที่ประชุมใหญ่ศาลปกครอง ต้องผ่านการลงมติให้ความเห็นชอบจากวุฒิสภาเช่นเดียวกัน th
dc.description.abstract In case of the Constitutional Court has a role of authority and function to control and supervise the congress and the government, the organizations which come from the sovereignty of people. The judge of the Constitutional Court should to have chosen by the organizations which from the sovereignty of people too. Such as, the House of Representative, the Senate and the Government. But in Thailand, in the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550, the judge of the Constitutional Court come from only the Senate. Such as, (1) the judge from the Court of Justice 3 persons (2) the judge from the Administration Court 2 persons (3) the Knowledgeable people of Law 2 persons and (4) the Knowledgeable people of Political Science 2 persons. But only the Knowledgeable of Law and Political Science have chosen by the Senate, the judge from the Court of justice and the Administration Court have not. And when compare with the Constitutional Court in foreign, the judge of the Constitutional Court have chosen by the organizations which from the sovereignty of people (the House of Representative, the Senate and the Government). But in Thailand, had in case of the House of representative is in elective dictatorship condition. So the role of authority and function to chose the judge of the Constitutional Court is only the Senate. Thus the judge from the Court of Justice and the judge from the Administration Court should to have chosen by the Senate too, seem the judge of Constitutional Court have chosen by the sovereignty of people too. th
dc.language.iso th th
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ th
dc.subject Constitutional Courts th
dc.subject ศาลรัฐธรรมนูญ th
dc.title ที่มาทางอำนาจขององค์กรตุลาการในการพิจารณาคดีทางการเมือง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ : ศาลรัฐธรรมนูญ th
dc.title.alternative The origin of judicial power in role of authority and function to control and supervise The Congress and The Government in the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550: The constitutional Court th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account