dc.contributor.author |
นิก สุนทรธัย |
|
dc.contributor.author |
Nick Soonthorndhai |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law |
th |
dc.date.accessioned |
2023-12-14T14:00:39Z |
|
dc.date.available |
2023-12-14T14:00:39Z |
|
dc.date.issued |
2010 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 1,1, 2553 : 32-38 |
th |
dc.identifier.issn |
2286-6965 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1507 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/lawhcu/article/view/157615/114164 |
|
dc.description.abstract |
งานนาฏกรรมถือเป็นงานสร้างสรรค์ประเภทหนึ่งที่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๓๗ ความหมายของงานนาฎกรรม คืองานที่เกี่ยวกับการรำ การเต้น การทำท่า หรือการแสดง ที่ประกอบขึ้นเป็นเรื่องเป็นราว และหมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ด้วย เป็นความหมายที่เน้น การคุ้มครองลิขสิทธิ์ในงานนาฏกรรม เมื่อมีการแสดงออกมาซึ่งการเคลื่อนไหวของร่างกายให้เป็นท่าทาง การ
รำ การเต้น การแสดง แต่ในความเป็นจริง การจดบันทึกโน้ตรำในระบบ Labanotation เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในกระบวนการการบันทึกท่ารำที่ได้มาตรฐานและสามารถนำมาใช้ได้กับนาฏศิลป์ไทย ดังนั้นหากเปรียบเทียบกับงานดนตรีกรรมตามความหมายของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๓๗ ที่คุ้มครองไปถึงโน้ตเพลง และแผนภูมิเพลงที่ได้เรียบเรียงเสียงประสานแล้ว จึงควรแก้ไขความหมายของงานนาฎกรรมให้หมายความรวมถึงการบันทึกท่ารำตามระบบนาฎยจารึกด้วย เพื่อเป็นการขยายความคุ้มครองงานนาฏกรรม เพื่อให้สอดคล้องกับพัฒนาการของงานนาฏศิลป์ |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ลิขสิทธิ์ – ศิลปะการแสดง |
th |
dc.subject |
Copyright -- Performing rights |
th |
dc.subject |
นาฎยจารึก |
th |
dc.title |
การคุ้มครองลิขสิทธิ์ในงานนาฏกรรม : ศึกษากรณีการบันทึกงานนาฏกรรมหรือนาฏยจารึก |
th |
dc.type |
Article |
th |