dc.contributor.author |
เจนจิรา อัสพันธ์ |
|
dc.contributor.author |
รุ้งเพชร สงวนพงษ์ |
|
dc.contributor.author |
Jenjira Assapun |
|
dc.contributor.author |
Rungpetch Sanguanpong |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-25T07:00:54Z |
|
dc.date.available |
2024-01-25T07:00:54Z |
|
dc.date.issued |
2021 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1668 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกและความสัมพันธ์ของภาวะกระดูกสันหลังคดชนิดไม่ทราบสาเหตุในเด็กอายุระหว่าง 9-13 ปีกับน้ำหนักกระเป๋า ลักษณะการสะพายกระเป๋าและการทรงท่าขณะยืนวิธีการศึกษา ผู้เข้าร่วมงานวิจัยเป็นเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดมงคลโคธาวาส ตำบลคลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการจำนวน 264 คน โดยผู้เข้าร่วมการศึกษาตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและข้อมูลการสะพายกระเป๋า และได้รับการตรวจประเมินการทรงท่าขณะยืนโดยใช้ postural grid และวัดมุมการบิดหมุนลำตัวโดยใช้ scoliometer ผลการศึกษา ความชุกของภาวะกระดูกสันหลังคดในเด็กนักเรียนเท่ากับ 5.68% เป็นเพศหญิง 7 คนและเพศชาย 8 คน และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างภาวะกระดูกสันหลังคด กับน้ำหนักกระเป๋า (r = -0.003, p-value = 0.96) ลักษณะการสะพายกระเป๋า (x2 = 0.006, p-value = 0.94) ลักษณะการทรงท่าขณะยืนโดยการประเมินระดับไหล่, inferior angle of scapula, space of arm by side, ระดับ iliac crest, ระดับ ASIS และระดับ PSIS ทั้ง 2 ข้าง (x2 = 0.001, 0.026, 0.003, 0.060, 0.307, 0.060 ตามลำดับ, p-values> 0.05) และความถนัดของมือ (x2 = 3.077, p-value = 0.22)
สรุปผลการศึกษา: จากผลการศึกษาในครั้งนี้พบความชุกของผู้มีภาวะกระดูกสันหลังคด 5.68% และไม่พบความสัมพันธ์กันระหว่างภาวะกระดูกสันหลังคดกับน้ำหนักกระเป๋า ลักษณะการสะพายกระเป๋า การทรงท่าขณะยืนและความถนัดของมือ อย่างไรก็ตาม การเลือกวิธีการตรวจคัดกรองตั้งแต่แรกเริ่มอย่างเหมาะสม จะช่วยป้องกันไม่ให้มุมการคดของกระดูกสันหลังเพิ่มมากขึ้นได้ |
th |
dc.description.abstract |
Results: The prevalence of adolescent idiopathic scoliosis in schoolchildren was 5.68%, 7 were female and 8 were male. There were no association between scoliosis with weight of backpack (r = -0.003, p-value = 0.96), type of backpack (x2 = 0.006, p-value = 0.94), postural alignment in standing at the shoulder level, inferior angle of scapula, space of arm by side, iliac crest, ASIS, and PSIS (x2 = 0.001, 0.026, 0.003, 0.060, 0.307, 0.060, respectively, all p-values> 0.05) and handedness (x2 = 3.077, p-value = 0.22). Conclusions: The prevalence of scoliosis was 5.68%. Weight of backpack, type of backpack, postural alignment and handedness were not associated with scoliosis. However, the proper selection of screening for early detection of scoliosis may help to monitor and prevent the curve progression. |
th |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2560 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
กระดูกสันหลังคดแบบไม่ทราบสาเหตุ |
th |
dc.subject |
Idiopathic scoliosis |
th |
dc.subject |
กระดูกสันหลังคดในวัยรุ่น |
th |
dc.subject |
Adolescent Idiopathic Scoliosis |
th |
dc.subject |
นักเรียนประถมศึกษา -- ไทย -- สมุทรปราการ |
th |
dc.subject |
Elementary Schools -- Thailand -- Samut Prakarn |
th |
dc.title |
ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะกระดูกสันหลังคดชนิดไม่ทราบสาเหตุในเด็กนักเรียนอายุระหว่าง 9-13 ปี ในตำบลคลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการ |
th |
dc.title.alternative |
The Prevalence and Associated Factors of Adolescent Idiopathic Scoliosis in Students Aged 9-13 Years in Khlong Dan District, Samutprakan Province |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |