DSpace Repository

การพัฒนาเครื่องมือประเมินผู้ใช้บริการที่มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง

Show simple item record

dc.contributor.author วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย
dc.contributor.author หทัยชนก บัวเจริญ
dc.contributor.author จริยาวัตร คมพยัคฆ์
dc.contributor.author Vanida Durongrittichai
dc.contributor.author Hathaichanok Buajaroen
dc.contributor.author Jariyawat Kompayak
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2024-01-29T04:18:12Z
dc.date.available 2024-01-29T04:18:12Z
dc.date.issued 2007
dc.identifier.citation วารสารสภาการพยาบาล 22,3 (ก.ค.-ก.ย. 2550) : 55-66 th
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1677
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/2442/1917
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาเครื่องมือประเมินผู้ใช้บริการในชุมชนที่มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองภายใต้ทฤษฎีการพยายามของคิง และเพื่อประเมินคุณภาพของเครื่องมือดังกล่าวกับผู้ใช้บริการในชุมชนจำนวน 14 ราย การพัฒนาเครื่องมือนี้มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดเป็นหลัก มีโครงสร้าง 2 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพของผู้ใช้บริการจำนวน 13 ข้อ 2)ข้อมูลลักษณะและความสัมพันธ์ของผู้ใช้บริการและครอบครัวกับชุมชนที่อาศัย จำนวน 10 ข้อ ประกอบด้วย ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโรคและปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การสูบบุหรี่ การออกกำลังกายในชุมชน การไม่สูบบุหรี่ในชุมชน การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้บริการ กับครอบครัวและชุมชนเกี่ยวกับการเลือกอาหารและการจัดการความเครียด ข้อสังเกตที่ได้จากการพัฒนาเครื่องมือคือ 1)โครงสร้างและองค์ประกอบของเครื่องมือได้จากความรู้วิทยาการระบาดโยงใยกับสาเหตุปัญหาเพื่อให้มองเห็นปัจจัยเสี่ยงของโรค ส่วนทฤษฎีการพยาบาลของคิงเป็นการนำแนวคิดย่อยในระบบต่างๆ มากำหนดข้อคำถามซึ่งจะช่วยในการประเมินทั้งมิติทางการพยาบาลและมิติของการเจ็บป่วยได้อย่างครอบคลุม 2) แบบประเมินในแต่ละส่วนที่เป็นคำถามปลายเปิดต้องใช้วิธีการเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อขยายความเข้าใจถึงปัจจัยเสี่ยงของผู้ใช้บริการตามทฤษฎีการพยาบาลของคิงได้ชัดเจน 3) การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือใช้การตรวจสอบทั้งความตรงเชิงเนื้อหา ความน่าเชื่อถือ และการตรวจสอบสามเส้า ซึ่งข้อมูลที่ได้มีทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 4) การประเมินในแต่ละข้อคำถาม จะติความแนวคิดย่อยของทฤษฎีได้มากกว่า 1 แนวคิดและมีความเชื่อมโยงระหว่างระบบบุคคล ระบบระหว่างบุคคลและระบบสังคม การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวางแผนการพยาบาลจึงต้องตีความทั้ง 3 ระบบควบคู่กันไป 5) การสร้างเครื่องมือโดยใช้ทฤษฎีเป็นฐานต้องคัดเลือกแนวคิดของทฤษฎีที่มีความเฉพาะเจาะจงกับโรคที่ศึกษาเท่านั้น เพื่อลดข้อมูลที่ไม่จำเป็นและเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลและผู้ใช้บริการเพื่อการตั้งเป้าหมายร่วมกันต่อไป th
dc.description.abstract This research objectives were to develop the assessment tool for clients who to stroke disease in community underpinning King's Nursing Theory and to evaluate the validity and reliability of the assessment to for clients who risk to stroke disease in community underpinning King's Nursing Theory, 14 subjects were studied under ethical consideration. The results found that the open-ended questionnaire was the appropriate tool for stroke risk assessment. It composed of 2 main parts. The first part was individual characteristic and health status of clients in 13 items. The second part was the characteristic and relationship of clients to their families and communities in 10 items. The second part involved the client's perception and idea to the diseases and risk factors which lead to stroke, client's and family's roles in selecting and cooking foods for family, exercising in community, quitting smoking in community, and the communication and interaction patterns of clients and their families to community, and stress management. The findings indicated that 1) the structural and components of risk assessment tool brought from web of causation of stroke disease and the operational definitions of concepts in King's Nursing Theory. It helped to adequately assess risk factors in nursing and epidemiology dimensions 2) The open-ended questions and qualitative method were mainly employed in each parts for deeply understanding risk factors of clients in community underpinning King's Nursing Theory 3) Content validity, reliability, and triangulation were used to testing the quality of quantitative and qualitative data 4) Data from each items could be interpreted according to more than one concept and one system in King's Nursing Theory. 5) The concepts in King's Nursing Theory for this tools were considerably selected. This helped to reduce the redundancy data and increase the quality of interactions and the appropriate goal setting between nurse and client in community. th
dc.language.iso th th
dc.subject โรคหลอดเลือดสมอง th
dc.subject Cerebrovascular disease th
dc.subject การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ th
dc.subject Health risk assessment th
dc.title การพัฒนาเครื่องมือประเมินผู้ใช้บริการที่มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง th
dc.title.alternative Tool Development of Stroke Risk Assessment for Client in Community Underpinning King's Nursing Theory th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account