DSpace Repository

การศึกษาสวัสดิการสังคมที่ได้รับการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

Show simple item record

dc.contributor.author บวรเดช อนุชา
dc.contributor.author กฤตวรรณ สาหร่าย
dc.contributor.author Broworndat Anucha
dc.contributor.author Kittawan Sarai
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare. Student of Bachelor of Social Work and Social Welfare th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare
dc.date.accessioned 2024-03-07T06:01:06Z
dc.date.available 2024-03-07T06:01:06Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.citation วารสารสังคมภิวัฒน์ 12,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2564) : 52-67 th
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1825
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/thaijss/article/view/253888/172470 th
dc.description.abstract การศึกษาสวัสดิการสังคมที่ได้รับกับการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสวัสดิการที่ได้รับ, การดูแลตนเองและความต้องการสวัสดิการสังคมเพิ่มเติมของผู้สูงอายุซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 389 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง ร้อยละ 58.9 และเพศชาย ร้อยละ 41.1 มีอายุ 70-75 ปี ร้อยละ 32.9 รองลงมา 66-69 ปี ร้อยละ 28.0 สำเร็จระดับประถมศึกษา ร้อยละ 52.7 นับถือศาสนาพุทธทั้งหมด ร้อยละ 100.0 สถานภาพสมรส ร้อยละ 54.0 มีโรคประจำตัว ร้อยละ 50.9 สำหรับจำนวนสมาชิกในครอบครัว 1-3 คน ร้อยละ 45.5 บุคคลที่ดูแลผู้สูงอายุเป็นสมาชิกในครอบครัวมากถึง ร้อยละ 71.0 นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีรายได้เฉลี่ยของครอบครัวต่อเดือน น้อยกว่า 5,000 บาท ร้อยละ 32.6 รองลงมา มีรายได้ 5,000-10,000 ร้อยละ 26.0 ในภาพรวมผู้สูงอายุได้รับสวัสดิการสังคมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.73) เมื่อพิจารณาสวัสดิการสังคมที่ได้รับเป็นรายด้านเรียงตามลำดับ ได้แก่ 1) ด้านสุขภาพอนามัย (ค่าเฉลี่ย 3.58) และ 2) ด้านความมั่นคงทางสังคม (ค่าเฉลี่ย3.57) อยู่ในระดับมาก 3) สวัสดิการด้านการศึกษา (ค่าเฉลี่ย 3.14) 4) ด้านที่อยู่อาศัย (ค่าเฉลี่ย 2.78) 5) ด้านนันทนาการ (ค่าเฉลี่ย 2.75) 6) ด้านบริการทางสังคม (ค่าเฉลี่ย 2.66) ทั้งหมดอยู่ในระดับปานกลาง และ 7) ด้านรายได้และการมีงานทำ (ค่าเฉลี่ย 2.59) อยู่ในระดับน้อย ด้านการดูแลตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.16) เมื่อพิจารณารายด้านเรียงตามลำดับ ได้แก่ 1) ด้านร่างกาย อยู่ในระดับมาก 2) เศรษฐกิจ 3) ด้านจิตใจ และ 4) ด้านสังคม ทั้งหมดอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความต้องการสวัสดิการของผู้สูงอายุภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.82) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาที่ต่างกัน ทำให้สวัสดิการสังคมที่ได้รับแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ 2) ด้านครอบครัว ได้แก่ รายได้เฉลี่ยของครอบครัวและช่วงเวลาในการดูแลที่ต่างกัน ทำให้สวัสดิการสังคมที่ได้รับแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษาที่ต่างกันทำให้การดูแลตนเองด้านร่างกาย จิตใจและเศรษฐกิจแตกต่างกัน และ 4) ข้อมูล ด้านครอบครัวได้แก่ รายได้เฉลี่ยของครอบครัวและช่วงเวลาในการดูแลที่ต่างกันทำให้การดูแลตนเองด้านร่างกาย จิตใจและเศรษฐกิจของผู้สูงอายุแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ th
dc.description.abstract The objectives of this quantitative research were to study the capacity of Social Development and Human Security Volunteers (SDHSV) in Samut Prakan province, and to study the individual factors affecting the performance of SDHSV in Samut Prakan province. The research sample consisted of 286 SDHSV in Samut Prakan province, and the data collection method was questionnaires. The results of the study show that the majority of SDHSV in Samut Prakan province are females, aged 51 years old and above, married with 4-6 family members, have received secondary school level education, do freelance work, have an average monthly income of less than 10,000 baht, and have been volunteering for 2–5 years. They have a high level of knowledge and consistently meet the standards of SDHSV in Samut Prakan province in terms of work ethics, abilities, skills, and motivation. Individual factors affecting the performance of SDHSV include marital status, number of family members, education level, and duration of SDHSV. The researchers' recommendations include having a database of volunteers to provide appropriate welfare, consistent training on knowledge and work ethics, and encouraging volunteers to take part in caring for and improving the quality of life of vulnerable people to further promote the effective working of SDHSV. th
dc.language.iso th th
dc.subject ผู้สูงอายุ th
dc.subject Older people th
dc.subject การสงเคราะห์ผู้สูงอายุ th
dc.subject Old age assistance th
dc.subject การดูแลตนเอง th
dc.subject Self care th
dc.title การศึกษาสวัสดิการสังคมที่ได้รับการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ th
dc.title.alternative A Study on the Social Welfare Received and the Self-care of the Elderly in Poochaosamingprai Municipality Area, Phrapradaeng District, Samutprakarn Province th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account