DSpace Repository

ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นนอกระบบการศึกษา และผลการพัฒนาโปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมเพื่อลดการสูบบุหรี่

Show simple item record

dc.contributor.author พรรณปพร ลีวิโรจน์
dc.contributor.author บุญรัตน์ โง้วตระกูล
dc.contributor.author ดาริกา กูลแก้ว
dc.contributor.author Panpaporn Leeviroj
dc.contributor.author Boonrat Ngowtrakul
dc.contributor.author Darika Koolkaew
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy th
dc.contributor.other Bangkok Primary Educational Services Area Office th
dc.date.accessioned 2024-03-10T12:58:57Z
dc.date.available 2024-03-10T12:58:57Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.citation วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 37, 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2560) : 75-91 th
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1879
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://utcc2.utcc.ac.th/utccjournal/374/75_91.pdf th
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และผลการพัฒนาโปรแกรมมการปรับความคิดและพฤติกรรมเพื่อลดการสูบบุหรี่ ในกลุ่มวัยรุ่นนอกระบบการศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสานเป็นระยะ ประกอบด้วยวิธีการสำรวจและการวิจัยเชิงทดลอง และนำผลการศึกษามาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมปรับความคิดและพฤติกรรมเพื่อลดการสูบบุหรี การวิจัยสำรวจในระยะแรกรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างวัยรุ่น จำนวน 600 คน ด้วยการคัดเลือกแบบหลายขั้นตอน ได้กลุ่มตัวอย่างที่สูบบุหรี่นอกระบบการศึกษา จำนวน 91 คน ส่วนการวิจัยเชิงทดลอง รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้คัดเลือกจากแบบทดสอบการติดบุหรี่ (Fagerstorm test for nicotine dependence: FTND) ระดับคะแนน 4-5 แสดงว่าเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมการสูบแบบเสี่ยง จำนวน 34 คน และคัดเข้าเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 10 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 10 คน มีการทดสอบก่อนการทดลอง หลังการทดลองและระยะติดตามผลการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณาและการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) และการทดสอบทางสถิติตัวที (t-test) ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยครอบครัวและสังคมยอมรับการสูบบุหรี่ที่มีผลต่อการสูบบุหรี่ จึงได้นำตัวแปรนี้ไปพัฒนาโปรแกรมในการศึกษาในระยะที่ 2 โปรแกรมที่ได้จากการพัฒนาเป็นการนำปัจจัยครอบครัวและมาตรฐานทางสังคม ร่วมกับกระบวนการปรับความคิด (Congnitivice Behavior Therapy) ของ Beck (1967) และลักษณะมุ่งอนาคต ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 8 กิจกรรม จำนวน 8 ครั้ง ๆ ละ 60-90 นาที สัปดาห์ละ 1 ครั้ง รวม 8 สัปดาห์ ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลองโปรแกรม CBT เพื่อลดการการสูบบุหรี่ที่สร้างขึ้นนั้น สามารถลดพฤติกรรมการสูบบุหรี่ได้ th
dc.description.abstract This study’s objectives are to investigate factors affecting adolescents’ smoking behavior and the effectiveness of the development program of cognitive behavior therapy for reducing smoking behavior among out-of-school adolescents. Research uses mixed methodology of a survey and an experimental design in two phases. The results from the survey is used to develop program of cognitive behavior therapy for reducing the smoking behavior. The research tools include questionnaire and the development program to reduce smoking behaviors. In the first phase, data from 600 adolescents are collected using a questionnaire. The sample comprises 91 out-of-school smokers. The experimental research is derived from the Fagerstrom test for nicotine dependence (FTND) The scores from questionnaire ranges from 4 to 5 indicated the risk of smoking behavior in the total number of 34 smokers. Twenty persons recruited to participate in two groups. The first-10-persons group is called the controlled group and the second-10-person group is called the experimental group. Both groups should attend the activities provided and observed the pre-test, post-test and follow-up tests. Analyses were executed using descriptive statistics, multiple regression technique, and t-test. Research findings show that two key variables, family factors and social norms, are significantly related to smoking behaviors. Therefore, these variables are taken to develop the program in phase two of the study. The therapy program developed by applying family factors and social norms in combination with the cognitive behavior therapy of Beck (1967) and future orientation. It comprises 3 steps, 8 activities, 8 times, 60-90 minutes for each, once a week and continuously for 10 weeks. The experimental results demonstrate the effectiveness of the developed CBT program to reducing smoking behaviors. th
dc.language.iso th th
dc.subject การสูบบุหรี่ th
dc.subject Smoking th
dc.subject วัยรุ่น th
dc.subject Adolescence th
dc.subject การเลิกบุหรี่ th
dc.subject Smoking cessation th
dc.subject การเลิกนิสัย th
dc.subject Habit breaking th
dc.title ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นนอกระบบการศึกษา และผลการพัฒนาโปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมเพื่อลดการสูบบุหรี่ th
dc.title.alternative Factors Affecting Smoking Behavior of Out-ofSchool Adolescents and the Effectiveness of Development Program of Cognitive Behavior Therapy to Reducing Smoking Behavior th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account