dc.contributor.advisor |
นิรัญกาญจ์ จันทรา |
|
dc.contributor.advisor |
Niranyakarn Chantra |
|
dc.contributor.author |
กณิศนันท์ ไชยคำ |
|
dc.contributor.author |
Kanisnan Chaikham |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
|
dc.date.accessioned |
2024-03-18T13:56:26Z |
|
dc.date.available |
2024-03-18T13:56:26Z |
|
dc.date.issued |
2016 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1912 |
|
dc.description |
การศึกษาอิสระ (วท.ม.) (การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2559 |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษานี้เป็นการประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้ในการศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประชากร จิตสังคมกับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความรุนแรงของโรคกับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรคกับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการป้องกันโรคกับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งชักนำสู่การปฏิบัติกับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ ศึกษาในพนักงนโรงงานผลิตสี จำนวน 107 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามปัจจัยที่สัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลของการวิจัย พบว่า เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ย สถานะการเงิน ประสบการณ์การทำงานในสถานที่ที่มีเสียงดังในอดีต การทำงานในพื้นที่ที่เสียงดัง ประสบการณ์ การทำงานในปัจจุบัน การได้รับการตรวจสมรรถภาพการได้ยิน ประวัติความผิดปกติของการได้ยิน และการรับรู้ถึงประโยชน์และอุปสรรคของการป้องกันโรคไม่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ส่วนการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความรุนแรงของโรค การรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรคและสิ่งชักนำสู่การปฏิบัติมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ฯ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (r=0.220, 0.205, -0.208, p-value = 0.034, 0.048, 0.045 ตามลำดับ) การศึกษาในอนาคตควรศึกษาเพิ่มเติมในปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ระดับความรู้ ความเข้าใจปัจจัยประชากรและสังคม รวมทั้งองค์ความรู้อื่นๆ เป็นต้น และควรศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ขึ้น และมีลักษณะการทำงานที่แตกต่างกัน |
th |
dc.description.abstract |
This study was applied Health Belief Model to study in the relevant factors related to the likelihood of Personal Protective Equipment (PPE) utility. The objectives were 1) to determine the relationship between personal and personal and psychological factor with the likelihood of PPE utility 2) to determine the relationship between the perceived susceptibility/seriousness of disease with the likelihood of PPE utility 3) to determine the relationship between the perceived threat of disease with the likelihood of PPE utility 4) to determine the relationship between the perceived benefits and barriers of the disease prevention with the likelihood of OOE utility, and 5) to determine the relationship between the cues to action and the likelihood of PPE utility. The subjects were 107 production staffs of Painting Industry. The instruments were the questionnaires, composed of related factors of the likelihood of PPE utility. The descriptive statistics and Pearson correlation was applied to determine the relationship between relevant factors and the likelihood of PPE utility. The results showed that the personal factors and barriers of the disease prevention were not significant with the likelihood of PPE utility. The perceived sustainability of disease and the perceived threat of disease presented positive significant relationship with the likelihood of PPE utility (r=0.220, 0.205, -0.208, p-value = 0.034, 0.048, 0.048). Moreover, the cues to action had negative significant relationship with the results the likelihood of PPE utility (r= -0.208, p-value = 0.045). For further study, another factors such as knowledge, perception, and cognition should be determined. In addition, the study should be performed in large sample size and in various occupations. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
มลพิษทางเสียง |
th |
dc.subject |
Noise pollution |
th |
dc.subject |
การได้ยิน |
th |
dc.subject |
Hearing |
th |
dc.subject |
เสียงรบกวนทางอุตสาหกรรม |
th |
dc.subject |
Industrial noise |
th |
dc.subject |
พฤติกรรมสุขภาพ |
th |
dc.subject |
Health behavior |
th |
dc.subject |
โรงงานผลิตสี -- เสียงรบกวน |
th |
dc.subject |
Painting industry -- Noise |
th |
dc.subject |
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล |
th |
dc.subject |
Personal protective equipment |
th |
dc.title |
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลโดยประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ |
th |
dc.title.alternative |
Factors Related to the Likelihood of Personal Protective Equipment Utility by Application of Health Belief Model |
th |
dc.type |
Independent Studies |
th |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย |
th |