DSpace Repository

การศึกษาความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ กรณีศึกษา: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง

Show simple item record

dc.contributor.author ปิยะวัน วงษ์บุญหนัก
dc.contributor.author ศรัณย์ กอสนาน
dc.contributor.author ปพิชญา แสวงผล
dc.contributor.author นัสเรีย นิมะยุ
dc.contributor.author Piyawan Wongboonnak
dc.contributor.author Sarun Gorsanan
dc.contributor.author Papitchaya Swangphol
dc.contributor.author Nasria Nimayu
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences th
dc.date.accessioned 2024-03-23T07:23:41Z
dc.date.available 2024-03-23T07:23:41Z
dc.date.issued 2022
dc.identifier.citation วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) 14, 28 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565) : 70-80 th
dc.identifier.issn 3027-6039 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1950
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/263018/178573 th
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคและศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาและเกรดเฉลี่ยสะสมของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง ที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษา 2561 จำนวน 220 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับแบบ Likert ที่ตรวจสอบความเที่ยง (Reliability) ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.856 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคในภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง คือ 3.72±.522 พบว่า มิติด้านผลกระทบ (Reach) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ 4.09±.683 อยู่ในระดับค่อนข้างสูง และมิติด้านความอดทน (Endurance) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ 3.40±.703 ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมุติฐานด้วยสถิติ Independent Sample t-Test พบว่า นักศึกษาที่มีเพศต่างกันมีความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคไม่แตกต่างกัน (p-value 0.784) และจากทดสอบด้วย One-Way ANOVA พบว่า นักศึกษาที่มีอายุต่างกันมีความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรค ไม่แตกต่างกัน (p-value 0.560) ส่วนนักศึกษาที่มีระดับการศึกษาและเกรดเฉลี่ยสะสมที่ต่างกันมีความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value 0.019 และ 0.003 ตามลำดับ) th
dc.description.abstract The objectives of this study were to study the level of adversity quotient (AQ) and to study related factors including gender, age, academic level and cumulative GPA among samples of 220 pharmacy students studying in academic year 2018 at a private university. Data was collected by using 5-level rating Likert scale questionnaires that measured their reliability with Cronbach's Alpha coefficient of 0.856. The results of the study showed that mean of adversity quotient quite high 3.72 ±.522. It was found that the dimension of reach had the highest mean of 4.09 ± .683 which was considered to be quite high and the endurance dimension was the lowest mean 3.40 ± .703 which was at the moderate level. The results of hypothesis testing with Independent Sample t-Test found that there was no statistically significant difference adversity quotient in different genders students (p-value 0.784). Tested with One-Way ANOVA students of different ages had no statistically significant difference adversity quotient (p-value 0.560). Students with different academic levels and cumulative GPA have statistically significant different adversity quotient at the 0.05 level (p-values 0.019 and 0.003 respectively). th
dc.language.iso th th
dc.subject นักศึกษาเภสัชศาสตร์ th
dc.subject Pharmacy students th
dc.subject การเผชิญปัญหา th
dc.subject การปรับตัว (จิตวิทยา) th
dc.subject Adjustment ‪(Psychology) th
dc.subject Self-management (Psychology) th
dc.subject การจัดการตนเอง (จิตวิทยา) th
dc.title การศึกษาความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ กรณีศึกษา: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง th
dc.title.alternative A STUDY OF ADVERSITY QUOTIENT (AQ) AMONG PHARMACY STUDENTS: A CASE STUDY IN A PRIVATE UNIVERSITY th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account