Herb is the important natural resource of the world. It is a component of food or medicine for a long time. Thai government has announced “National plan for Thai herb development” since 2017(Department of Thai traditional and alternative medicine, 2017). This plan aims to promote herbal research, development, production and consumption domestically to be self-reliant and reduce national medical expenditure. Thailand confronts the ageing society therefore herb maybe one of the medical choice for them. To understand their perception to herbal product and intention to use herbal product is important for the involving party. This cross-sectional quantitative research’s objectives were to survey the perception of the elderly patients toward herb and marketing strategy of herbal product, to survey the patients’ intention to use herbal products and to study the factoring influencing the patients’ intention to use herbal products.The population of this study was the patients who have at least one of the following diseases, Hypertension, Diabetes mellitus and Dyslipidemia. They were treated at out-patient department at Somdech Phra Debaratana Medical Center (SDMC) Faculty of Medicine Ramathibodi hospital Mahidol University. Total population was 703,000 patients and sample size was 400 patients based on Taro Yamane. The questionnaire contained 3 parts; general information, perception to marketing activities according to the marketing mix concept (4P) and lastly perception to herbal product and intention to use.The result shown that perception to Product perspective was the highest among 4P’s perception (2.48 out of 3.00) and the average perception of the respondent to herbal product was 2.41 from 3.00 which meant high perception to herbal product. While, average intention to use herbal product was 2.30/3.00 which meant moderate level of intention.The study also found that the factors influenced the intention to use herbal product were 1. Perception “using herbal product reduce medical expenditure”, 2. Perception “using herbal product can raise nation income”, 3. Perception “herbal product is useful to health”, 4. Free sample, 5. Reasonable pricing, 6. Distribution store coverage, 7. Nice distribution store, 8. Informative label/insert, 9. Premium pricing, 10. Perception “herbal product can cure the disease”, and lastly 11.Informative sales person. It also showed the R square was 0.377 which meant all of these factors predicted the intention to use herbal product at 37.7%.
สมุนไพรเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของโลกเป็นส่วนประกอบของอาหารและยามาเป็นเวลานานรัฐบาลไทยได้ประกาศแผนแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทยในพ.ศ. 2560 เพื่อส่งเสริมงานวิจัยทางสมุนไพรการพัฒนาสมุนไพรการผลิตสมุนไพรและการบริโภคสมุนไพรภายในประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดรายจ่ายด้านการแพทย์ของประเทศปัจจุบันประเทศไทยกาลังเผชิญกับสังคมสูงวัยและสมุนไพรอาจจะเป็นตัวเลือกหนึ่งในการรักษาโรคของคนไข้การทำความเข้าใจการรับรู้ต่อสมุนไพรและความตั้งใจที่จะใช้สมุนไพรจึงมีความสำคัญต่อภาคส่วนที่เกี่ยวข้องงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ของคนไข้สูงอายุต่อผลิตภัณฑ์สมุนไพรและกลยุทธ์การตลาดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรรวมทั้งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจจะใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพร กลุ่มประชากรที่จะศึกษาคือผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1 โรคใน 3 โรคต่อไปนี้โรคความดันโลหิตสูงเบาหวานไขมันในเลือดสูงที่ได้รับการรักษาที่ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์โรงพยาบาลรามาธิบดีจำนวน 703,000 คนและทาการสุ่มแบบสะดวกจานวน400คนโดยการคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane แบบสอบถามมีด้วย 3 ส่วนได้แก่แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปแบบสอบถามความรับรู้ต่อกิจกรรมการตลาดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามแนวคิดของส่วนประสมการตลาด (4P) และการรับรู้ต่อผลิตภัณฑ์สมุนไพรรวมทั้งความตั้งใจจะใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรผลการศึกษาพบว่าการรับรู้ต่อมุมมองด้านผลิตภัณฑ์ในส่วนประสมการตลาด (4P) มีระดับการรับรู้สูงที่สุด (2.48 จาก 3.00) ค่าเฉลี่ยการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างต่อผลิตภัณฑ์สมุนไพรเท่ากับ 2.41 จาก 3.00 นับว่ามีการรับรู้ที่สูงในขณะที่มีความตั้งใจใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเฉลี่ยเท่ากับ 2.30 จาก 3.00 ซึ่งหมายความว่ามีความตั้งใจจะใช้สมุนไพรในระดับปานกลางนอกจากนี้ยังพบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจจะซื้อผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้แก่ 1. การรับรู้ว่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรจะช่วยลดค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ 2. การรับรู้ว่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรช่วยสร้างรายได้แก่ประเทศ 3.การรับรู้ว่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ 4. การมีตัวอย่างแจกฟรี 5. ราคาสมเหตุสมผล 6. การจัดจาหน่ายที่ครอบคลุม 7. การมีสถานที่จัดจาหน่ายที่สวยงาม 8. การมีฉลากและเอกสารกากับที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ 9. ราคาที่แพง 10. การรับรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรว่าสามารถช่วยรักษาโรค 11. การมีพนักงานขายที่ให้ความรู้และข้อมูลปัจจัยทั้งหมดส่งผลต่อการตั้งใจจะใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรร้อยละ 37.7 หรือ R2 มีค่าเท่ากับ 0.377