DSpace Repository

ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างการเรียนรู้รอบด้าน รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน : กรณีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม
dc.contributor.author วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย
dc.contributor.author หทัยชนก บัวเจริญ
dc.contributor.author Kamonthip Khungtumneum
dc.contributor.author Vanida Durongrittichai
dc.contributor.author Hathaichanok Buajaroen
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing th
dc.contributor.other Nakhon Pathom Rajabhat University. Faculty of Nursing th
dc.date.accessioned 2024-05-02T05:26:10Z
dc.date.available 2024-05-02T05:26:10Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.citation วารสาร มฉก.วิชาการ 20, 40 (มกราคม-มิถุนายน 2560) : 41-52 th
dc.identifier.issn 0859-9343 (Print)
dc.identifier.issn 2651-1398 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2096
dc.description สามารถเข้าถึงบทความได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/149560/109768 th
dc.description.abstract การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดซ้ำนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียน การสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างการเรียนรู้รอบด้านรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชนต่อการรับรู้ ความสามารถในการนำความรู้ทฤษฎีไปใช้ในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน การรับรู้ความ สามารถในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชนและการรับรู้สมรรถนะตนเองในการฝึกปฏิบัติการ พยาบาลอนามัยชุมชน กลุ่มทดลอง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 78 ราย กลุ่มควบคุม คือ นักศึกษา ชั้นปีเดียวกัน 113 ราย เครื่องมือวิจัยเป็นแผนการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเอง และแบบสอบถามที่ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และความเชื่อมั่น α– coefficient ทั้งฉบับเท่ากับ 0.954 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทีและ paired t-test ผลวิจัยพบว่า หลังจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเอง พบว่า ค่าเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถใน การนำความรู้ทฤษฎีไปใช้ของกลุ่มควบคุม (x¯ 8.41, S.D. 0.763) สูงกว่ากลุ่มทดลอง ( x¯ 7.96, S.D. 1.145) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 การรับรู้ความสามารถและการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการฝึก ปฏิบัติของกลุ่มควบคุม (¯x 4.16, S.D. 0.414, ¯x 4.23, S.D. 0.436) สูงกว่ากลุ่มทดลอง (¯x 4.05, S.D. 0.420, (¯x 4.14, S.D. 0.410) อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถในการนำ ความรู้ทฤษฎีไปใช้ (คะแนนเฉลี่ยก่อนใช้การเรียนแบบนำตนเอง 7.60, คะแนนเฉลี่ยหลังใช้การเรียนแบบ นำตนเอง 7.96, p = 0.005 ) และการรับรู้สมรรถนะตนเองในการฝึกปฏิบัติ (คะแนนเฉลี่ยก่อนใช้การเรียน แบบนำตนเอง 4.05, คะแนนเฉลี่ยหลังใช้การเรียนแบบนำตนเอง 3.74, p = 0.000) ของกลุ่มทดลองสูง กว่าก่อนใช้การจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนการรับรู้ความสามารถใน การฝึก (คะแนนเฉลี่ยก่อนใช้การเรียนแบบนำตนเอง 4.05, คะแนนเฉลี่ยหลังใช้การเรียนแบบนำตนเอง 3.74, p = 0.000) ของกลุ่มทดลองต่ำกว่าก่อนใช้การเรียนแบบนำตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ th
dc.description.abstract The objective of a two group experimental research was to study the effectiveness of self-directing learning for holistic practice of nursing students in Community Nursing Practicumm Subject in order to 1) in apply knowledge to practice 2) perceive their capabilities 3) perceive their self-efficacy. 78 nursing students were in an experimental group and 113 nursing students were in a control group. The instrument used was a self-directing learning program and a questionnaire which was validated by experts. The self-directing learning program and the questionnaire were employed (α– coefficient 0.954). The research data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test, and paired t-test. The results showed that after applying self-directed learning activities, the control group had the mean score of perception in their capabilities related to applying knowledge significantly higher than the experimental group (¯x 8. 41, S.D. 0.763 , ¯x 7.96, S.D. 1.145) (p=0.001), the mean score of perception in their capabilities in practicum and their self-efficacy non-significantly (¯x 4.16, S.D. 0.414, ¯x 4.23, S.D. 0.436) higher than experimental (¯x 4.05, S.D. 0.420, ¯x 4.14, S.D. 0.410). The mean score of perception in applying knowledge (¯x before 7.60, (¯x after 7.96, p = 0,.005 ), and perceived self-efficacy in practice (¯x before 4.05, (¯x after 3.74, p = 0.000) of the experimental group significantly higher than control group. The mean score of perceived capability in practice (¯x before 4.05, (¯x after 3.74, p = 0.000) of the experimental group significantly lower than the control group. th
dc.language.iso th th
dc.subject มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะพยาบาลศาสตร์ -- นักศึกษา th
dc.subject Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing -- Students th
dc.subject การพยาบาลอนามัยชุมชน -- การศึกษาและการสอน th
dc.subject Community health nursing -- Study and teaching th
dc.subject การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง th
dc.subject Self-managed learning th
dc.title ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบนำตนเองเพื่อสร้างการเรียนรู้รอบด้าน รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน : กรณีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.title.alternative The Effectiveness of Self-Directing Learning for Holistic Practice of Nursing Student : Case Study from Community Nursing Practicum Subject, Faculty of Nursing, Huachiew Chalermprakiet University th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account