DSpace Repository

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author นิลาวรรณ งามขำ
dc.contributor.author ปทุมมาศ กั้นหยั่นทอง
dc.contributor.author อติญญา สุสิวงศ์
dc.contributor.author กนกวรรณ จิตระบูรณ์
dc.contributor.author พิมพ์ณัฐชยา นุชสิริ
dc.contributor.author นิตยา ชัยชนะ
dc.contributor.author พรอารดา อยู่รักษ์
dc.contributor.author อาภรณ์ บุญฉิม
dc.contributor.author ศุภักษณา สรรพลุน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม th
dc.date.accessioned 2024-05-02T08:39:26Z
dc.date.available 2024-05-02T08:39:26Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation วารสาร มฉก.วิชาการ 20,39 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 45-56 th
dc.identifier.issn 0859-9343 (Print)
dc.identifier.issn 2651-1398 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2102
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/149486/109739 th
dc.description.abstract การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาในหลักสูตร สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ และศึกษาปัจจัยความเครียด ปัจจัยสภาพแวดล้อมและทรัพยากรการเรียนรู้ และปัจจัยการอบรมเลี้ยงดูที่สัมพันธ์กับความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตร์ สุขภาพ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตร์ สุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 397 ราย สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจาก ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.745 จากการศึกษา พบว่า นักศึกษามีความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ปกติ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 159.75 และพบว่า ปัจจัยด้านความเครียด สภาพแวดล้อมและทรัพยากรการเรียนรู้ และปัจจัย ด้านการอบรมเลี้ยงดูมีความสัมพันธ์กับความฉลาดทางอารมณ์ (b= -0.047, 0.080 และ -0.280 ตามลำดับ, p<0.05) ตัวแปรด้านความเครียด สภาพแวดล้อมและทรัพยากรการเรียนรู้ และปัจจัยด้านการ อบรมเลี้ยงดู สามารถอธิบายความแปรปรวนของความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาได้ร้อยละ 18.9, 2.8 และ 6.0 ตามลำดับ จากข้อค้นพบการวิจัยนี้ ควรจัดกิจกรรมในการลดความเครียดของนักศึกษา ปรับสภาพแวดล้อมและทรัพยากรการเรียนรู้ และส่งเสริมรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูเพื่อพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ของนักศึกษา th
dc.description.abstract This research was aimed to study the emotional quotient level of students in health science curriculums and to study stress factors, environmental and learning resource factors and parenting factors affecting the emotional quotient of students in health science curriculums at Huachiew Chalermprakiet University. This research was done on a cross-sectional basis. The theoretical framework for stress factors of Department of Mental Health (2000), Environment and learning resources theory of Higher Education Commission (2014) and parenting theory of Baumrind (1991) were used as a guide to construct the conceptual framework of this study. The samples were students in health science curriculums. The samples of 397 students were selected by a stratified random sampling technique. The research instrument was a questionnaire. The content validity of questionnaires were proved by three experts. The Item-Objective Congruence Index (IOC) of all questions was 0.67-1.00. The Cronbach’s alpha co-efficiency reliability test was 0.74. The findings of the study showed that students had an overall emotional quotient with a normal level ( = 159.75). However the stress factor, environmental and learning resource factors and parenting factors affecting emotional quotient of students in health science curriculums at Huachiew Chalermprakiet University with unstandardized coefficients were -0.047, 0.080 and -0.280 respectively. The research findings also showed that the stress factor, environmental and learning resource factors and parenting factors could explain the variances of emotional quotient of students of 18.9, 2.8 and 6.0 respectively. From the findings of this research, activities to reduce stress, adjust the environment and learning resource and parenting styles for developing an emotional quotient of students should be formulated. th
dc.language.iso th th
dc.subject ความฉลาดทางอารมณ์ th
dc.subject Emotional intelligence th
dc.subject ความเครียด (จิตวิทยา) th
dc.subject Stress (Psychology) th
dc.subject มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- นักศึกษา th
dc.subject Huachiew Chalermprakiet Univeristy -- Students th
dc.title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.title.alternative Factors Affecting Emotional Quotient of Students in Health Science Curriculums at Huachiew Chalermprakiet University th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account