DSpace Repository

ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย: ก่อนป่วยด้วยสมองเสื่อม

Show simple item record

dc.contributor.author ปัณณทัต บนขุนทด
dc.contributor.author กัลยา มั่นล้วน
dc.contributor.author Punnathut Bonkhunthod
dc.contributor.author Kanlaya Munluan
dc.contributor.other Western University, Buriram Campus. Faculty of Nursing th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing th
dc.date.accessioned 2024-05-05T04:23:53Z
dc.date.available 2024-05-05T04:23:53Z
dc.date.issued 2022
dc.identifier.citation วารสารการพยาบาลและสุขภาพ สสอท. 4,1 (มกราคม-เมษายน 2565), e27723 : 1-15 th
dc.identifier.issn 2697-4622 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2144
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/ajnh/article/view/2723/2127 th
dc.description.abstract ภาวะการคิดรู้บกพร่องเล็กน้อย เป็นความผิดปกติที่อยู่ระหว่างภาวะสมองเสื่อมกับการหลงลืมตามปกติของผู้สูงอายุ เกิดจากภาวะถดถอยในการทำงานของสมองจากการสูญเสียเซลล์ประสาท โดยเริ่มจากส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วจึงลุกลามไปยังสมองส่วนอื่นๆ ความเสื่อมถอยนี้จะดำเนินไปอย่างช้าๆ แบบค่อยเป็นค่อยไปซึ่งอาจใช้เวลานานหลายปี ความผิดปกติจะปรากฏจนสังเกตได้เมื่อเซลล์ประสาทในสมองที่มีบทบาทสำคัญในการจดจำข้อมูลต่างๆ ถูกทำลายลง อาการสำคัญของผู้ที่มีภาวะการร้คิดบกพร่องเล็กน้อยจึงเป็นอาการที่เกี่ยวช้องกับความจำ นำมาสู่ภาวะสมองเสื่อมจนส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน การรักษาภาวะการรับรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีทั้งวิธีการใช้ยา และวิธีการที่ไม่ใช้ยา ซึ่งการรักษาที่ไม่ใช้ยามีหลายวิธี เช่น การฝึกจำ การฝึกการรู้คิด การบำบัดด้วยกิจกรรม วิธีเหล่านี้เป็นวิธีหนึ่งที่นำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการทางสมอง ช่วยสร้างความสมดุลให้กับสมอง และช่วยกระตุ้นการเชื่อมโยงของเซลล์ประสาท จึงเป็นการชะลอหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรคสมองเสื่อมได้ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการกระตุ้นการรู้คิดในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย แนวคิดการรู้คิดบกพร่องและการบำบัดเพื่อพัฒนาศักยภาพสมอง การบำบัดรักษาผู้ที่มีการรู้คิดบกพร่องด้วยกระตุ้นการรู้คิดเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาด้วยการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ใช้กระบวนการประมวลผลข้อมูลมากกว่าความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง เพื่อช่วยในด้านความจำ การรับรู้ การตัดสินใจ และการคิดเชิงบริหาร ส่งผลให้ชะลอการดำเนินไปเป็นโรคสมองเสื่อมและดำรงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ th
dc.language.iso th th
dc.subject ภาวะสมองเสื่อม th
dc.subject Dementia th
dc.subject ผู้สูงอายุ th
dc.subject Older people th
dc.subject ความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมอง th
dc.subject Mild cognitive impairment th
dc.subject การรู้คิดผิดปกติ th
dc.subject Cognition disorders th
dc.subject การรู้คิดผิดปกติ -- ผู้ป่วย -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ th
dc.subject Cognition disorders -- Patients -- Rehabilitation th
dc.subject ความจำผิดปกติ th
dc.subject Memory disorders th
dc.title ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย: ก่อนป่วยด้วยสมองเสื่อม th
dc.title.alternative Mild Cognitive Impairment : Before getting sick with Dementia th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account