DSpace Repository

การป้องกันการบาดเจ็บจากการทํางานสําหรับพนักงานทั่วไป

Show simple item record

dc.contributor.author ตฤณ ทิพย์สุทธิ์
dc.contributor.author กัลยา มั่นล้วน
dc.contributor.author ทรงกรฎ ศฤงคาร
dc.contributor.author Trin Thipsut
dc.contributor.author Kanlaya Munluan
dc.contributor.author Songkot Sarinkarn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing th
dc.contributor.other Bangkok Flight Services th
dc.date.accessioned 2024-05-05T04:53:46Z
dc.date.available 2024-05-05T04:53:46Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.citation วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 5,3 (กรกฎาคม-กันยายน 2564) : 230-238 th
dc.identifier.issn 2586-9493 (Print)
dc.identifier.issn 2697-4967 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2145
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ th
dc.description.abstract บทความวิชาการนี้ อธิบายถึงสาเหตุของการบาดเจ็บจากการทํางาน ลักษณะของการบาดเจ็บจากการทํางาน ผลกระทบของการได้รับบาดเจ็บจากการทํางาน การปฏิบัติตนในการป้องกันการบาดเจ็บจากการทํางาน และมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายจากการทํางาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการป้องกันการบาดเจ็บจากการทํางานสําหรับนายจ้างและผู้ปฎิบัติงานในสถานประกอบการ ซึ่งการบาดเจ็บจากการทํางาน เป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นในขณะทํางาน ซึ่งอาจทําให้งานเกิดความล่าช้า หยุดชะงัก ที่มีสาเหตุจากสภาพการทํางานและการกระทําที่ไม่ปลอดภัย ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทั้งทางตรงและทางอ้อม ผลกระทบในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ครอบครัว ตลอดจนเกิดความสูญเสียด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการเกิดการบาดเจ็บจากการทํางาน การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับ สิ่งเหล่านี้ถือเป็นสิ่งสําคัญที่ผู้ปฏิบัติงานและนายจ้างควรปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพื่อลดอัตราการบาดเจ็บหรืออัตราการตายลงได้ นอกจากนี้การสร้างพฤติกรรมความปลอดภัยของสถานประกอบการก็เป็นสิ่งที่สําคัญที่สามารถลดการบาดเจ็บจากการทํางานได้ โดยทุกคนในสถานประกอบการต้องร่วมกันดําเนินการตามเป้าหมายที่วางไว้ จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมความปลอดภัยที่มีความยั่งยืน th
dc.description.abstract This article explains the causes of occupational injuries, the nature of the injury from work, the impact of occupational injury, practices in the prevention of occupational injuries and measures for prevention and control of occupational hazards. To be used as a guideline for the prevention of occupational injuries for employers and workplace workers. An occupational injury is an accident that occurs during working time. It includes unsafe working conditions and acts which could delay and interrupts the working operations. This impacts both direct and indirect losses, including physical, emotion and family, as well as the economic and social loss of the country. Therefore, the workers must have a deep understanding of the rules to prevent injuries at work, involving in the execution of rules or regulations at their workplace. These reasons are the important factors that employees and employers should strictly execute to reduce injury or mortality rates. In addition, establishing workplace safety behaviors is also an important factor in reducing occupational injuries. In which everyone in the establishment must jointly implement the goals that are set to result in a sustainable safety behaviors th
dc.language.iso th th
dc.subject ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม th
dc.subject Industrial safety th
dc.subject อุบัติเหตุ – การป้องกัน th
dc.subject Accidents -- Prevention th
dc.subject อาชีวอนามัย th
dc.subject Industrial hygiene th
dc.subject โรคเกิดจากอาชีพ th
dc.subject Occupational diseases th
dc.subject อุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรม th
dc.subject Industrial accidents th
dc.subject โรงงาน -- มาตรการความปลอดภัย th
dc.title การป้องกันการบาดเจ็บจากการทํางานสําหรับพนักงานทั่วไป th
dc.title.alternative Occupational Injury Protection for Employees th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account