DSpace Repository

ผลกระทบของฝุ่นจากการทําผ้าวนต่อประชาชนในชุมชนภูมิใจนิเวศน์

Show simple item record

dc.contributor.author อรวรรณ คุณสนอง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม en
dc.date.accessioned 2024-05-22T11:06:58Z
dc.date.available 2024-05-22T11:06:58Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.citation วารสาร มฉก. วิชาการ 21, 41 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) : 11-26 en
dc.identifier.issn 0859-9343 (Print)
dc.identifier.issn 2651-1398 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2306
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/146013/107707 en
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบผลกระทบของฝุ่นจากการทําผ้าวนและผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง สายตา กล้ามเนื้อ และความเครียด จากการทําผ้าวนต่อประชาชนในชุมชนภูมิใจนิเวศน์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ประกอบอาชีพและผู้ที่ไม่ได้ประกอบอาชีพทําผ้าวนที่อาศัยอยู่ในชุมชนหมู่บ้านภูมิใจนิเวศน์โครงการ 6 ฝั่งซ้ายและฝั่งขวา หมู่ 4 ตําบลในคลองบางปลากด อําเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 317 ราย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติพรรณนา ได้แก่ แจกแจงความถี่ ร้อยละ ในด้านการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยการสัมภาษณ์ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ตําบลในคลองบางปลากด วิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกต ผลการวิจัย พบว่า ผู้ประกอบอาชีพทําผ้าวนกลุ่มตัวอย่างในช่วง 1-2 ปี ที่ผ่านมามีอาการผิดปกติ คือ ปวดเมื่อยตามตัว ร้อยละ 61.7 รองลงมา อ่อนเพลีย ร้อยละ 40.0 อาการไอ ร้อยละ 23.3 ปวดศีรษะ ร้อยละ 13.3 มีเสมหะ ร้อยละ 5 เจ็บอก/แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก มีอาการคล้ายหวัด ร้อยละ 5 ไข้ต่ําๆ ร้อยละ 3.3 และ เบื่ออาหาร ร้อยละ 3.3 ส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพจากการทําผ้าวน ร้อยละ 63.3 สําหรับผู้ที่ไม่ได้ประกอบอาชีพทําผ้าวนกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา มีอาการผิดปกติ ส่วนใหญ่ปวดเมื่อยตามตัว ร้อยละ 49.0 รองลงมา อ่อนเพลีย ร้อยละ 29.1 ปวดศีรษะ ร้อยละ 8.6 อาการไอ ร้อยละ 6.6 มีเสมหะ ร้อยละ 2.3 เบื่ออาหาร ร้อยละ 1.5 เจ็บอก/แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก มีอาการคล้ายหวัด ร้อยละ 1.5 และไข้ต่ําๆ ร้อยละ 1.2 ระดับความเครียดในภาพรวม พบว่า ผู้ทําผ้าวนมีความเครียดอยู่ในระดับปกติหรือไม่เครียด ร้อยละ 78.3 และเครียดปานกลาง ร้อยละ 1.6 สําหรับผู้ที่ไม่ได้ทําผ้าวนความเครียดอยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 90.7 จากการสัมภาษณ์เชิงลึกของผลกระทบของฝุ่นจากเศษผ้าควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข และ เห็นด้วยในการให้ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ โดยมีความประสงค์ให้หน่วยงานท้องถิ่นดูแลเรื่องความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเนื่องจากปัญหาเศษผ้าที่วางล้ําออกมากีดขวางการจราจรภายในชุมชน พร้อมทั้งควรจัดเตรียมอุปกรณ์ในการป้องกันอุบัติภัยที่อาจเกิดขึ้นในชุมชน ประชาชนในชุมชนมีความวิตกกังวลการเกิดอัคคีภัย ดังนั้น จึงควรกําหนดการจัดโซนในการประกอบอาชีพ เพื่อลดความเสี่ยงจากการสัมผัสฝุ่นจากเศษผ้าและมีผลต่อสมาชิกที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนเดียวกันและฟุ้งกระจายเข้าไปในบ้านข้างเคียง en
dc.description.abstract This research aimed to study the impact of the dust from fabric loop production on respiration, skin, eyesight, muscles, and stress. The data were collected from a questionnaire and deep interviewing. Villagers at the Ploomjainives community. The subjects were 317 villagers who produced fabric ioops for a living and those who were not fabric loop makers. Both groups lived in Ploomjainives community Phase 6, on the left and right sides of Moo 4,Nai Klong Bangplagot subdistrict , Prasamutjedi district, Samuthprakarn province. Data were analyzed by using frequency and percentage statistics. For qualitative analysis main data source came from the village of Naiklongbangplagot subdistrict. It was found that in the period of 1-2 years fabric loop makers had muscle pain at 61.7 %, fatigue at 40% ,cough at 23.3%, headache at 13.3%, phlegm at 5%, chest pain, breathing. Difficulties symptom of cold at 5%, low fever in some period at 3.3% and no appetite of 3.3%. Total health impact was at 63.3%. On the other hand, those who were not fabric loop makers had muscle pain at 49.0 %, fatigue at 29.1%, headache at 8.6%, cough at 6.6%, loss of appetite and chest pain, breathing, difficulties symptoms of cold at 1.5 % and low fever at 1.2%. Stress was at normal level or had no stress 78.3%. Workers had stress at moderate level 1.6%. People who did not produce fabric loop had normal stress levels at 90.7% From in depth interviews it was found that the subjects wanted to receive information about illnesses from working with fabric loop and there prevention. Villagers needed local authorities to take responsibility of cleaning and tidying their area, to organize and tidy up big piles of remnants which were laid out on the street, and blocked the traffic. Furthermore, they required fire equipment to be installed. Dust from the remnants of working with fabric loops poses a risk to the families of the workers. Conflict might happen due to spreading dust of the remnants which annoys neighbors. en
dc.language.iso th en
dc.subject โรคเกิดจากสิ่งแวดล้อม en
dc.subject Environmentally induced diseases en
dc.subject โรคเกิดจากอาชีพ en
dc.subject Occupational diseases en
dc.subject ผ้าวน en
dc.subject ฝุ่น en
dc.subject Dust en
dc.title ผลกระทบของฝุ่นจากการทําผ้าวนต่อประชาชนในชุมชนภูมิใจนิเวศน์ en
dc.title.alternative The Impact of Dust from Fabric Loop Production on the People in Ploomjainives Community en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account