DSpace Repository

ความชุกและรูปแบบของภาวะเศร้าหลังคลอดในมารดาหลังคลอดปกติและผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง

Show simple item record

dc.contributor.author รัชดา พ่วงประสงค์
dc.contributor.author อรอนงค์ บัวลา
dc.contributor.author ชิดชนก สิทธารถศักดิ์
dc.contributor.author Rachada Phuangprasonka
dc.contributor.author Onanoung Buala
dc.contributor.author Chidchanok Sittaratasak
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing en
dc.date.accessioned 2024-05-25T06:51:37Z
dc.date.available 2024-05-25T06:51:37Z
dc.date.issued 2024
dc.identifier.citation วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 16, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2567) : 124-138 en
dc.identifier.issn 2651-1274 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2331
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pnujr/article/view/259761/178310 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความชุกและรูปแบบของภาวะเศร้าหลังคลอดในมารดาหลังคลอดปกติและผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาที่มีภาวะเศร้าหลังคลอดในรายคลอดปกติและผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่พักฟื้นหลังคลอด ณ หอผู้ป่วยสูติกรรมหลังคลอด โรงพยาบาลสมุทรปราการ จำนวน 357 ราย เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลและอารมณ์เศร้าหลังคลอดของ Kennerley and Gath (1989) ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยและแปลย้อนกลับ โดย Phuangprasonka et al. ‎(2016) ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.79 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและภาวะเศร้าหลังคลอดด้วยการแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างสำหรับคะแนนอารมณ์เศร้า ระหว่างกลุ่มโดยใช้ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า ความชุกของภาวะเศร้าหลังคลอดระหว่างวันที่ 1 - 3 หลังคลอด คิดเป็นร้อยละ 43.9 ในมารดาคลอดปกติ และคิดเป็นร้อยละ 58.4 ในมารดาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง โดยพบว่า ทั้งมารดาคลอดปกติและผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องจะมีรูปแบบของภาวะเศร้าหลังคลอดสูงสุดในวันแรกและค่อย ๆ ลดลงในวันที่ 2 และ 3 ตามลำดับ และเมื่อทดสอบความแตกต่างของคะแนนเศร้าหลังคลอดระหว่างสองกลุ่มพบว่า ระดับความรุนแรงของอาการเศร้าหลังคลอดในมารดาหลังคลอดปกติ และมารดาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องมีความแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (t = 4.65, p <.001) en
dc.description.abstract The purpose of this study was to examine the prevalence and pattern of postpartum blues in mothers with normal labor and cesarean sections. 357 samples who experienced postpartum blues after normal labor and cesarean section in the postpartum ward of Samut Prakarn Hospital. The research instruments were a demographic questionnaire and postpartum blues emotion questionnaire of Kennerley and Gath's (1989) which were translated into Thai and then back translated by Phuangprasonka et al. (2016) with a reliability coefficient of 0.79. Data analysis included frequency, percentage, mean, and standard deviation for both demographic data and postpartum blues symptoms. An independent t-test was utilized to compare the postpartum blues score between the groups. Results showed that during the first three days after birth, 43.9% of mothers with normal labor and 58.4% of mothers with cesarean section experienced postpartum blues. The risk of postpartum blues was highest on the first day following delivery and lower in the second - and third-days following delivery in mothers who had normal labor and cesarean section. Between mothers with normal labor and cesarean section, there was a statistically significant difference in the intensity of postpartum blues scores (t = 4.65, p <. 001) en
dc.language.iso th en
dc.subject ความซึมเศร้าหลังคลอด en
dc.subject Postpartum depression en
dc.subject การผ่าท้องทำคลอด en
dc.subject Cesarean section en
dc.subject สูติศาสตร์ -- ศัลยกรรม en
dc.subject Pregnancy complications -- Surgery en
dc.subject การคลอด en
dc.subject Labor ‪(Obstetrics)‬ en
dc.title ความชุกและรูปแบบของภาวะเศร้าหลังคลอดในมารดาหลังคลอดปกติและผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง en
dc.title.alternative Prevalence and Model of postpartum blues among Mother with Normal Labor and Cesarean Section en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account