DSpace Repository

เอกลักษณ์ของปลาสลิดในมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสายโซ่การผลิตในเขตจังหวัดสมุทรปราการ

Show simple item record

dc.contributor.author น้ำผึ้ง มีศิล
dc.contributor.author ศิรินทร์พร ธารมัติ
dc.contributor.author นวลใย วัฒนกูล
dc.contributor.author Namphueng Meesil
dc.contributor.author Sirinporn Taramat
dc.contributor.author Nuanyai Wattanakoon
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare en
dc.date.accessioned 2024-05-27T09:33:53Z
dc.date.available 2024-05-27T09:33:53Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2335
dc.description Proceedings of the 6th National and International Conference on "Research to Serve Society", 22nd June 2018 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 1005-1016. en
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาเอกลักษณ์หรือความโดดเด่นของปลาสลิดในมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสายโซ่การผลิตในเขตจังหวัดสมุทรปราการทั้ง 4 อำเภอ คือ บางบ่อ บางพลี บางเสาธง และเมืองสมุทรปราการ โดยการนำวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพมาใช้เป็นหลักในการทำความเข้าใจถึงความโดดเด่นที่คล้ายคลึงกันของปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการ ข้อค้นพบจากการวิจัย คือ การเลี้ยงปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการเป็นการเลี้ยงแบบธรรมชาติ โดยการฟันหญ้าแช่ลงในบ่อปลาซึ่งจะทำให้เกิดไรแดงและแพลงตอนที่เป็นอาหารปลาสลิด ส่งผลให้เกิดแก่นของเอกลักษณ์ คือ 1) หนังปลาสลิดมีสีคล้ำ เนื้อปลามีสีเหลืองอ่อน เมื่อทอดแล้วสีจะเข้มข้นขึ้นจนเป็นสีเหลืองทองลำตัวปลาเรียง เล็ก 2) การตากปลาสลิดแห้งแบบดั้งเดิม มีลักษณะครีบกาง หางปลาฉีกออก 3) รสชาติของปลาสลิด จังหวัดสมุทรปราการ คือ เนื้อแน่น เหนียง ไม่มีกลิ่นสาป ไขมันน้อย 4) การแปรรูปเป็นปลาสลิดแห้งมักทำใน 2 ลักษณะ คือ ปลาสลิดหอมและปลาสลิดเค็มซึ่งเป็นภูมิปัญญาของชาวสมุทรปราการ ทั้งนี้ เมื่อมีการตรวจสอบเอกลักษณ์ของปลาสลิด โดยการสำรวจจากแบบสอบถาม จำนวน 413 ชุด พบว่า ข้อมูลที่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผลวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถนำมาใช้เพื่อพัฒนาสัญลักษณ์ทางการค้าที่ระบุถึงคุณสมบัติเฉพาะที่โดดเด่นหรือเอกลักษณ์ของปลาสลิดสมุทรปราการให้ผู้บริโภคทั่วไปรับทราบและเลือกซื้อปลาสลิดของจังหวัดสมุทรปราการได้อย่างถูกต้อง en
dc.description.abstract The purpose of this research was to identify the uniqueness or remarkableness of Pla Salid (Gourami fish) in perspective of the supply chain in 4 districts of Samutprakarn province: Bangbo, Bangplee, Bangsaothong, and Muang Samutprakarn. This research used qualitative method to study the similarity of remarkableness of gourami fish in Samut Prakarn province. The findings was raising gourami fish in Samutprakarn province using natural method by cutting the grass and sink in the gourami fish ponds to produce the phytoplankton which was the food of gourami fish. This natural method had been effected to the gourami fish essence as follows: 1) gourami fish’s skin is dark, fish meat is light yellow, when gourami fish is fried, the color will turn to golden yellow, small torso of gourami fish and slender, 2) the way people dried the fish remained the traditional identity by making the unfold fins and splitting tailfin. 3) The taste of gourami fish is firm, sticky, no odor, low fat, 4) Gourami fish processing have done in two forms namely fragranced gourami fish and salted gourami fish which are local wisdom of Samutprakarn people. From 413 questionnaires asking about gourami fish’s identities, the results were the same as in the qualitative study above. The findings of this research can be used to develop a trade mark that identities the special quality or uniqueness of gourami fish in Samutprakarn province to general consumers. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject ปลาสลิด -- ไทย -- สมุทรปราการ en
dc.subject Snakeskin -- Thailand -- Samut Prakarn en
dc.subject ปลาสลิด -- การเลี้ยง en
dc.subject เอกลักษณ์ทางสังคม en
dc.subject Group identity en
dc.title เอกลักษณ์ของปลาสลิดในมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสายโซ่การผลิตในเขตจังหวัดสมุทรปราการ en
dc.title.alternative The Identity of the Pla Salid (Gourami Fish) in the Perspective of the Supply Chain of Smutprakarn Province en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account