dc.contributor.advisor |
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร |
|
dc.contributor.advisor |
Jaturong Boonyarattanasoontorn |
|
dc.contributor.author |
ฉวีวรรณ เรืองอุทัย |
|
dc.contributor.author |
Chaveevan Ruangutai |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare |
|
dc.date.accessioned |
2024-06-06T14:01:23Z |
|
dc.date.available |
2024-06-06T14:01:23Z |
|
dc.date.issued |
1998 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2375 |
|
dc.description |
สารนิพนธ์ (สส.ม.) (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2541 |
en |
dc.description.abstract |
การศึกษาคุณภาพชีวิตของแรงงานอพยพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิหลังของแรงงานอพยพ ระดับคุณภาพชีวิต และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตด้านต่างๆ ในประเด็นที่สำคัญ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้แรงงานอพยพในจังหวัดสมุทรปราการ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอพระประแดง และอำเภอบางพลี จำนวน 478 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ใช้แรงงานอพยพส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุระหว่าง 21-25 ปี มีการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา อยู่ในจังหวัดสมุทรปราการมาแล้ว 1-5 ปี มีรายได้ต่ำกว่าเดือนละ 5,000 บาท คุณภาพชีวิตด้านต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ และปานกลางค่อนข้างต่ำในทุกด้าน สำหรับการวิเคราะห์เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตด้านต่างๆ พบว่าแรงงานอพยพที่ไม่ทำงานล่วงเวลา จะมีรายได้ไม่เพียงพอเป็นส่วนใหญ่ การทำงานล่วงเวลาทำให้เกิดปัญหาค่อนข้างห่างเหินในครอบครัวสูง ผู้ที่มีเงินออมจะไม่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ และหน่วยงานในการพัฒนาความรู้ และทักษะในการทำงานมากกว่าผู้ที่มีรายได้พอดี ผู้ที่มีรายได้เหลือออม จะมีการทะเลาะเบาะแว้งกันเป็นบางครั้ง และผู้ที่เป็นแรงงานในภาคเกษตรจะได้รับความช่วยเหลือจากนักการเมือง และข้าราชการในท้องถิ่นมากกว่าแรงงานในภาคอื่น หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องซึ่งอยู่ในสังกัดของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุขต้องให้ความสนใจในการจัดสวัสดิการด้านต่างๆ ให้กับแรงงานอพยพให้มากขึ้น เช่น การควบคุมดูแลผู้ประกอบการให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานอย่างเคร่งครัดในเรื่องค่าแรง และสวัสดิการต่างๆ การจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นในการพัฒนาฝีมือและทักษะในการทำงาน การจัดการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ในสถานประกอบการ การควบคุมคุณภาพของอาหาร และน้ำดื่ม การจัดให้มีพื้นที่สวนสาธารณะในย่านโรงงานอุตสาหกรรม การจัดฝึกอบรมให้แรงงานอพยพเข้าใจสิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ และการส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น สหภาพแรงงานเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันและเพื่อสร้างอำนาจในการต่อรองกับผู้ประกอบการ เป็นต้น หรือกลุ่มย่านต่างๆ เป็นต้น |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
แรงงานต่างด้าว -- ไทย -- สมุทรปราการ |
en |
dc.subject |
Foreign workers -- Thailand -- Samut Prakan. |
en |
dc.subject |
แรงงานย้ายถิ่น -- ไทย -- สมุทรปราการ. |
en |
dc.subject |
Migrant labor -- Thailand -- Samut Prakan. |
en |
dc.subject |
คุณภาพชีวิต |
en |
dc.subject |
Quality of life |
en |
dc.title |
การศึกษาคุณภาพชีวิตของแรงงานอพยพในจังหวัดสมุทรปราการ |
en |
dc.title.alternative |
Quality of Life : A Study of Migrant Workers in Samutprakarn Province |
en |
dc.type |
Independent Studies |
en |
dc.degree.name |
สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en |
dc.degree.discipline |
การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม |
en |