dc.contributor.author |
ดารุณี จงอุดมการณ์ |
|
dc.contributor.author |
รุจา ภู่ไพบูลย์ |
|
dc.contributor.author |
ระพีพรรณ คำหอม |
|
dc.contributor.author |
จิตตินันท์ เดชะคุปต์ |
|
dc.contributor.author |
จินตนา วัชรสินธุ์ |
|
dc.contributor.author |
วรรณี เดียวอิศเรศ |
|
dc.contributor.author |
ถวัลย์ เนียมทรัพย์ |
|
dc.contributor.author |
สาวิตรี ทยานศิลป์ |
|
dc.contributor.author |
อัจฉรียา ปทุมวัน |
|
dc.contributor.author |
อัจฉรียา ปทุมวัน |
|
dc.contributor.author |
นิทัศน์ ภัทรโยธิน |
|
dc.contributor.author |
เดชาวุธ นิตยสุทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
Darunee Jongudomkarn |
|
dc.contributor.author |
Ruja Phuphaibul |
|
dc.contributor.author |
Rapeepan Kumhom |
|
dc.contributor.author |
Chittinun Tejagupta |
|
dc.contributor.author |
Chintana Wacharasin |
|
dc.contributor.author |
Wannee Deoisres |
|
dc.contributor.author |
Thawan Nieamsup |
|
dc.contributor.author |
Sawitri Thayansin |
|
dc.contributor.author |
Autchareeya Patumwan |
|
dc.contributor.author |
Thipaporn Portawin |
|
dc.contributor.author |
Nitus Patrayotin |
|
dc.contributor.author |
Dechavudh Nityasuddhi |
|
dc.contributor.other |
Khon Kaen University. Faculty off Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Ramathibodi School of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Thammasat University. Faculty of School Administration |
en |
dc.contributor.other |
Sukhothai Thammathirat University. School of Human Ecology |
en |
dc.contributor.other |
Burapha University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Burapha University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Kasetsart University. Faculty of School Sciences |
en |
dc.contributor.other |
Mahidol University. National Institute for Child and Family Development |
en |
dc.contributor.other |
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Ramathibodi School of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare |
en |
dc.contributor.other |
Thai Health. Volunteer Pharmacy for Tobacco Control. Planning Manager |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.date.accessioned |
2024-06-18T15:16:07Z |
|
dc.date.available |
2024-06-18T15:16:07Z |
|
dc.date.issued |
2017 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 40,1 (มกราคม-มีนาคม 2560) : 14-29. |
en |
dc.identifier.issn |
2822-1133 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2404 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/view/91726/71937 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยเขิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวและคุณลักษณะของแต่ละด้านตามการรับรู้ของผู้ให้ข้อมูลซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด อาศัยใน 5 พื้นที่ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ เพื่อจัดทำร่างโครงสร้างของแบบวัดความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย ตามการให้ความหมายและการรับรู้ของตัวแทนครอบครัว โดยการสนทนากลุ่มใน 5 พื้นที่ๆ ละ 2 อำเภอ/เขตๆ ละ 2 กลุ่มตามคุณสมบัติด้านเศรษฐกิจ โดยแบ่งเป็น อำเภอ/เขตที่มีรายได้สูงกว่า และอำเภอ/เขตที่มีรายได้ต่ำกว่า ซึ่งในแต่ละอำเภอ/เขต แบ่งการสนทนากลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ตามเพศ (หญิงและชาย) และอายุ (วัยรุ่น วัยกลางคนและวัยเกษียณ) ดำเนินการเก็บข้อมูล (n=-31, 6-10 คน/กลุ่ม) ในช่วงสิงหาคม-พฤศจิกายน 2559 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ได้องค์ประกอบของความอยู่ดีมีสุขของครอบครัว ประกอบด้วย 9 ด้าน ได้แก่ ด้านสัมพันธภาพ ด้านการดูสุขภาพ ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา ด้านความมั่นคงและการพึ่งพา ด้านความร่วมใจและความปลอดภัยในชุมชน ด้านการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง และด้านบทบาทหน้าที่ ผลการศึกษานี้จะได้จัดทำร่างโครงสร้างแบบวัดเชิงปริมาณตามขั้นตอนตามวัตถุประสงค์และขั้นตอนการวิจัยต่อไป |
en |
dc.description.abstract |
This qualitative research aimed to study and domains of the family well-being and the characteristics of each domain as perceived by the key informants from different backgrounds according to the study criteria and living in five areas, including Bangkok, Northern, Central, Northeastern, and Southern Thailand. This will contribute to develop a quantitative measure means of Thai Family Well-being as given meaning and perceived by the family member representative participants. By focus group discussions, each area was divided into 2 districts per area based on its economic status, which were a district of higher income and a district of lower income. Two focus groups were conducted in each district. Each focus group was divided according to gender (female & male) and age (adolescent, middle & retire age). Data collection (n=310, 6-10 persons/group) was conducted between August and November 2016. Content analysis was used for data analysis. Respondents identified nine domains to their family well-being, including family relations, health care, spiritual development, economic, education, security and dependency, community cooperation and safety, sufficient life safety, and family function and roles. These results will be used to develop quantitative measures to assess the family well-being in Thailand as its research objectives. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
สุขภาวะ |
en |
dc.subject |
Well-being |
en |
dc.subject |
ความสุข |
en |
dc.subject |
Happiness |
en |
dc.subject |
ครอบครัว -- ไทย |
en |
dc.subject |
Families -- Thailand |
en |
dc.title |
การรับรู้ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย: การวิจัยเชิงคณภาพ |
en |
dc.title.alternative |
Perceptions of the Thai Family Well-Being: A Qualitative Study |
en |
dc.type |
Article |
en |