DSpace Repository

ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์แรก

Show simple item record

dc.contributor.advisor กนกพร นทีธนสมบัติ
dc.contributor.advisor ทวีศักดิ์ กสิผล
dc.contributor.advisor Kanokporn Nateetanasombat
dc.contributor.advisor Taweesak Kasiphol
dc.contributor.author ชิทิมา แปรจิ้งหรีด
dc.contributor.author Chitima Preajingreed
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2024-07-10T04:32:19Z
dc.date.available 2024-07-10T04:32:19Z
dc.date.issued 2566
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2450
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2566 en
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพในสตรีครรภ์แรก มีการนำแนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของ Nutbeam, D. (2015). และเทคนิคการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงานของกองสุขศึกษา (2563). มาสร้างโปรแกรมในการวิจัยครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีตั้งครรภ์แรกที่รับบริการ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3 แห่ง ในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติ จำนวน 60 คน และจับคู่ให้มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพฯ และกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพฯ แบบประมินส่วนบุคคล แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ ได้ค่า CVI เท่ากับ 0.87 นำไปทดสอบความเที่ยงตรง ได้ค่า KR-20 เท่ากับ 0.88 และได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.88 แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ได้ค่า CVI เท่ากับ 0.82 นำไปทดสอบได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และ independent t-testผลการวิจัย พบว่า หลังการได้รับโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์แรก กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพสำหรับสตรีตั้งครรภ์มากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .000 และค่าเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพ หลังได้รับโปรแกรมมากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 en
dc.description.abstract This quasi-experimental research was to study the effects of promoting health literacy program toward health behaviors among the first pregnant women, which was using Nutbeam’s concept of health literacy (Nutbeam, D. 2015) and learning management techniques to enhance health literacy for working age group of the Department of Health Education (2020) as the guideline to construct this program. The purposive sampling was used, which selected the first pregnant women who received services at three Health Promoting Hospitals, Bang Phli district, Samut Prakan province. There were 60 pregnant women, who were matched pairs design and randomly assigned to the experimental group and control group. The experimental group would receive that program to promote health literacy and health behaviors and the control group received regularly standard nursing care. The research instruments consisted of a program to promote health literacy and health behaviors of the first pregnant women, the personal assessment form, the assessment form of health literacy in pregnant women, and the assessment form of health behaviors in pregnant women. The content validity had been done by three experts, which the content validity index of the assessment form of health literacy in pregnant women was 0.87 and reliability was 0.88. The assessment form of health behaviors was 0.82 and reliability was 0.85. Data were analyzed by using statistics such as percentage, mean and standard deviation, paired t-test and independent t-test.The results of the research that after receiving that Program to promote health literacy of the first-time pregnant women, the experimental group had a higher mean health behaviors among pregnant women than before receiving the program, at statistical significance .000 and there had significantly higher average on health behaviors after receiving the program than the control group at .01. en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject สตรีมีครรภ์ en
dc.subject Pregnant women en
dc.subject พฤติกรรมสุขภาพ en
dc.subject Health behavior en
dc.subject การส่งเสริมสุขภาพ en
dc.subject Health promotion en
dc.subject ความรอบรู้ทางสุขภาพ en
dc.subject Health literacy en
dc.title ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์แรก en
dc.title.alternative The Effects of Promoting Health Literacy Program Toward Health Behaviors Among the First Pregnant Women. en
dc.type Thesis en
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account