dc.contributor.advisor |
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร |
|
dc.contributor.advisor |
Jaturong Boonyarattanasoontorn |
|
dc.contributor.author |
เบญจพร บัวสำลี |
|
dc.contributor.author |
Benjaporn Buasumlee |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare |
|
dc.date.accessioned |
2024-07-17T07:49:18Z |
|
dc.date.available |
2024-07-17T07:49:18Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2495 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.) (การบริหารสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2564 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่องนโยบายสวัสดิการสังคมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาอันตราย ของเด็กและเยาวชน มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์การเสพยาอันตรายในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ 2) เพื่อศึกษาระดับความรู้เรื่องโทษของการเสพยาอันตรายในทางที่ผิดวัตถุประสงค์และมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมยาอันตราย 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสพยาอันตรายในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้เสพยาอันตรายครอบครัวและสังคม และ 4) เพื่อเสนอแนะนโยบายสวัสดิการสังคมและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาอันตรายในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ของเด็กและเยาวชน โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสานวิธี ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันสถานการณ์การเสพยาอันตรายของกลุ่มเด็กและเยาวชนได้รับความนิยมแพร่หลายและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยนำมาประยุกต์ใช้เป็นสารเสพติดและผลจากการเก็บข้อมูลเด็กและเยาวชนที่เคยเสพยาทรามาดอล (Tramadol) ในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ 257 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 45.8 ได้คะแนนระดับความรู้เรื่องโทษของการเสพทรามาดอล (Tramadol) ไม่เกินครึ่งของคะแนนเต็ม และร้อยละ 51.8 มีความรู้เรื่องมาตรการทางกฎหมายอยู่ในระดับปานกลาง แต่กรณีศึกษาส่วนใหญ่ไม่ทราบว่ามีมาตรการทางกฎหมาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสพยาอันตรายในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ อายุ ลำดับการเป็นบุตร พฤติกรรมการใช้สารเสพติด ช่องทางในการเลือกซื้อยาทรามาดอล (กรณีร้านโชห่วย) ส่วนผสมที่เลือกใช้ร่วมกับการเสพและสัมพันธภาพในครอบครัว การเสพยาทรามาดอล (Tramadol) ในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ มีผลกระทบต่อตัวผู้เสพ ครอบครัว และสังคม ข้อเสนอแนะ คือ รัฐต้องมีนโยบายเสริมสร้างต้นทุนชีวิต (Life assets) ของเด็กและเยาวชนให้มีความเข้มแข็ง นโยบายปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 นโยบายปราบปรามผู้ที่ลักลอบจำหน่ายหรือผลิตยาอันตรายแบบผิดกฎหมาย และนโยบายส่งเสริมการพัฒนาโปรแกรมการบำบัดรักษาผู้ติดยาอันตรายพร้อมทั้งสนับสนุนค่าบำบัดรักษาภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค |
en |
dc.description.abstract |
The objectives of this research have four folds: 1) to study situations of misuse of dangerous drugs, 2) to study the level of knowledge about the punishment of the misuse of dangerous drugs and the legal measures for controlling dangerous drugs, 3) to study factors influencing harmful drug abuse and their effects on drug users, their families, and society, and 4) to recommend the social welfare policy and measures for prevention and solution to children and youth with dangerous drugs addiction. This study employed mixed methods research. The findings reveal that the current situation of dangerous drug use among children and youths has been widespread and tends to increase by applying it as an addictive substance. The results of data collection of 257 children and youths who used tramadol for abuse found that 45.8% of the sample had a score of less than half the knowledge of Tramadol use and 51.8% knew legal measures level at moderate, but most of the case studies unaware of legal measures. Factors influencing harmful drug abuse at a statistically significant level of 0.05 are age, maternal order, substance use behavior, Tramadol drug selection channels (in case of grocery shops), ingredients selected for use with addiction, and family relationships. The abuse of Tramadol affected the addict, family, and society. The recommendation includes the state must have the policy to strengthen the life assets of children and youths, to amend the Drug Act B.E. 2510, to suppress people who smuggle or produce illegal drugs and to promote developing a treatment program for dangerous drug addiction along with support for treatment costs under the Universal Health Coverage Program or the 30 Baht Treatment Program. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
ยาอันตราย |
en |
dc.subject |
Dangerous drugs |
en |
dc.subject |
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 |
en |
dc.subject |
Child Protection Act, B.E. 2546 (2003) |
en |
dc.subject |
ทรามาดอล |
en |
dc.subject |
Tramadol |
en |
dc.subject |
สิทธิเด็ก |
en |
dc.subject |
Children's rights. |
en |
dc.subject |
เยาวชน -- การใช้ยา |
|
dc.subject |
Youth -- Drug use. |
|
dc.subject |
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก |
|
dc.subject |
Convention on the Rights of the Child |
|
dc.title |
นโยบายสวัสดิการสังคมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาอันตรายของเด็กและเยาวชน |
en |
dc.title.alternative |
The Social Welfare Policy for Prevention and Solution to Children and Youth With Dangerous Drugs Addiction. |
en |
dc.type |
Thesis |
en |
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
en |
dc.degree.discipline |
การบริหารสวัสดิการสังคม |
en |