DSpace Repository

ความรู้และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author รวิ ถิ่นปรีเปรม
dc.contributor.author อุมารัตน์ ศิริจรูญวงศ์
dc.contributor.author วาสนา ศิลางาม
dc.contributor.author Rawi Thinpreprem
dc.contributor.author Umarat Sirijaroonwong
dc.contributor.author Wasana Silangam
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.date.accessioned 2024-08-10T11:16:47Z
dc.date.available 2024-08-10T11:16:47Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2575
dc.description Proceedings of the 8th National and International Conference on "Research to Serve Society", 25 June 2021 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 1150-1163. en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 และปีที่ 4 มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 99 คน จากการสุ่มอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนกันยายนถึงธันวาคม 2020 เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามความรู้และแบบสอบถามพฤติกรรมซึ่งเป็นแบบเลือกตอบมี สเกล 5 ระดับ มีค่าความตรงของเนื้อหา (IOC) แบบรายฉบับเท่ากับ 0.90 และมีค่าความเชื่อมั่น (ค่าสัมประสิทธ์ แอลฟาครอนบาค) เท่ากับ 0.83 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และ ทดสอบความสัมพันธ์ใช้ค่าสหสัมพันธ์เพียรสัน (Pearson product moment correlation coefficient) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 88.89) มีอายุเฉลี่ย 21.80 (SD= 0.78) ปี ไม่ มีโรคประจำตัว มีภูมิลำเนาเป็นพื้นที่เสี่ยงระดับ 4 หรือพื้นที่สีแดง ร้อยละ 90.91 และ 52.53 ตามลำดับ มีความวิตก กังวลเกี่ยวกับสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 อยู่ในระดับมาก ได้รับข้อมูลข่าวสารจากโทรทัศน์และสื่อสังคม ออนไลน์ ร้อยละ 45.45 และ 61.61 ตามลำดับ ภาพรวมมีความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากการ ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 อยู่ในระดับมาก (x = 10.33, SD = 1.64) และค่อนข้างมาก (x = 4.05, SD = 0.18) ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายข้อของความรู้และพฤติกรรมฯ ที่ได้คะแนนน้อยเป็นเรื่องการดูแลร่างกายให้ แข็งแรงและการปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการป่วยน่าสงสัย การเลือกใช้ การใช้และการทิ้งหน้ากากอนามัยอย่างเหมาะสม การป้องกันการสัมผัสเชื้อจากมือ และการฆ่าเชื้อบนมือที่ถูกต้อง en
dc.description.abstract This study aimed to determine the knowledge and behavior of students of Public Health and Environment Faculty at Huachiew Chalermprakiet University regarding self-care protection from COVID-19. The students are studying in the third and fourth year. There was a sample of 99 people from a simple random sampling. The samples were studying in year 3 and year 4. Data was collected in September-December 2020. The research tool was a knowledge and a behavior questionnaire. The questionnaire was a multiple choice with 5 scales. The content validity (IOC) was 0.90. The reliabilities (Cronbach Co-efficiency) were 0.83 and 0.96 respectively. The data were analyzed with frequency, percentage, mean and standard deviation. compare the differences using a one-way ANOVA, test the relationship using the Pearson product moment correlation coefficient. Results showed that most of the samples were female (88.89%), mean age 21.80 (SD = 0.78) years, had no congenital disease and were domiciled in high level risk area about the COVID-19 outbreak situation or red areas, 90.91 and 52.53 percent, respectively. The samples had anxiety at a high level and receive COVID-19 information from television and social media, 45.45% and 61.61% respectively. Overall, the sample had the knowledge and behavior of self-care prevention from COVID-19 was at a high level (x = 10.33, SD = 1.64) and quite high level. (x = 4.05, SD = 0.18), respectively. When considering each item of the knowledge and behavior of the samples, that items with low scores were: good physical health caring and practices for a suspected illness, choosing the right anti-infection mask, using and disposing of a mask, preventing hand infections and using hand sanitizer. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject โควิด-19 (โรค) -- การป้องกัน en
dc.subject COVID-19 (Disease) -- Prevention en
dc.subject การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- en
dc.subject COVID-19 Pandemic, 2020- en
dc.subject ความรอบรู้ทางสุขภาพ en
dc.subject Health literacy en
dc.subject พฤติกรรมสุขภาพ en
dc.subject Health behavior en
dc.subject มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม – นักศึกษา en
dc.subject Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health -- Students en
dc.title ความรู้และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.title.alternative Knowledge and Behavior of Students of Public Health and Environmental, Huachiew Chalermprakiet University Regarding Self-Care Prevention from Novel Coronavirus 2019 (COVID-19) en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account