การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิตของนักศึกษาที่เรียนออนไลน์ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จากกลุ่มตัวอย่าง 98 คน ด้วยแบบสอบถามผ่านระบบออนไลน์และผ่านจริยธรรมการวิจัยในเอกสารรับรองหมายเลข อ.1148/2564 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง เป็นเพศหญิง 75 คน คิดเป็นร้อยละ 76.53 มีอายุระหว่าง 18 ปี ถึง 24 ปี กาลังศึกษาในชั้นปีที่ 4 จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 33.67 พักอาศัยอยู่ทางภาคกลาง จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ปกครองน้อยกว่าเท่ากับ 26,000 บาท จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 67.35 ไม่มีโรคประจำตัว จานวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 67.35 ผู้ปกครองอยู่ร่วมกัน จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 จำนวนวันในการเรียนเฉลี่ย 5 วันต่อสัปดาห์ จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 88.78 ระยะเวลาในการเรียนเฉลี่ย 6 ชั่วโมงต่อวัน จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 36.73 มีสุขภาพและโภชนาการอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 53.06 มีจิตใจและอารมณ์อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 47.96 มีสังคมอยู่ในระดับดี จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 48.96 มีสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับดี จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 72.45 มีการเรียนการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 52.04 มีท่านั่งอยู่ในท่านั่งที่ไม่ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ จำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 97.96 และมีระดับคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง จานวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 53.06 เมื่อทำการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของปัจจัยกับระดับคุณภาพชีวิตของนักศึกษาที่เรียนออนไลน์ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยการใช้การทดสอบ Fisher’s exat test พบว่า ปัจจัยด้านสุขภาพและโภชนาการกับระดับคุณภาพชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 0.05 (p-value = 0.001) ปัจจัยด้านจิตใจและอารมณ์กับระดับคุณภาพชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 0.05 (p-value < 0.001) ปัจจัยด้านสังคมกับระดับคุณภาพชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 0.05 (p-value < 0.001) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับระดับคุณภาพชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 0.05 (p-value < 0.001) และปัจจัยด้านการเรียนการศึกษากับระดับคุณภาพชีวิต มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 0.05 (p-value < 0.001) เพราะฉะนั้นการที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีนักศึกษาที่เรียนออนไลน์ สาขาอาชีวอานามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ควรเน้นที่การกินอาหารและการออกำลังกาย การให้ความสัมพันธ์กับการจัดการกับอารมณ์ การรับมือกับอารมณ์และปัญหาของนักศึกษา การได้รับความเอาใจใส่จากครอบครัว การให้ความสัมพันธ์กับการพูดคุยกับกลุ่มเพื่อน ผู้ปกครอง และอาจารย์ การฝึกทำกิจกรรมกลุ่ม การให้ความสัมพันธ์กับการจัดการสภาพแวดล้อมในการเรียนหรือห้องเรียนออนไลน์ให้เหมาะสม และการให้ความสัมพันธ์กับการกระตุ้นตัวเองของนักศึกษาในการเรียนออนไลน์ และการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา
This study is a descriptive study. It aims to study factors correlated with the quality of life of students studying online Occupational Health and Safety the Faculty of Public Health and Environment Huachiew Chalermprakhiat University of a sample of 98 people. The results of the study found that the sample group was 75 females, representing 76.53%, aged between 18 and 24 years, studying in the 4th year of 33 people, representing 33.67%, living in the central region, 19 people, representing 50.00% The average monthly income of parents is less than 26,000 baht, 66 people representing 67.35 percent, no congenital disease, 66 people, or 67.35 percent, parents live together, 77 people, or 78.57 percent, the number of days in Studying average 5 days a week, 87 students accounted for 88.78%, average study duration was 6 hours per day, 36 students accounted for 36.73 percent, had moderate health and nutrition, 52 students accounted for 53.06 percent. Mental and emotional levels were at moderate level, 47 people accounted for 47.96 percent, 48 people accounted for 48.96 percent, and the environment was at a good level of 71 people, accounted for 72.45%, had a moderate level of education, 51 people accounted for 52.04%, had sitting in a sitting position that was not correct according to ergonomics, 96 people accounted for 97.96 percent and had the quality of life level was moderate, of 52 people, representing 53.06%. When analyzing the relationship between the factors and the quality of life of students studying online. Occupational Health and Safety Faculty of Public Health and Environment Huachiew Chalermprakiet University Using the Fisher's exact test, health and nutrition factors were related to quality of life. There was a statistically significant correlation at 0.05 percent confidence level (p-value = 0.001). Psychological and emotional factors and quality of life level. There was a statistically significant correlation at 0.05 percent confidence level (p-value < 0.001). Social factors and quality of life level. There was a statistically significant correlation at 0.05 percent confidence level (p-value < 0.001). Environmental factors and quality of life level. There was a statistically significant correlation at 0.05 percent confidence level (p-value < 0. 001) and educational and educational factors and quality of life level There was a statistically significant correlation at the 0.05 percent confidence level (p-value < 0.001). Should focus on diet and exercise. Giving a Relationship to Dealing with Emotions coping with student emotions and problems receiving family attention Relationships with a group of friends, parents and teachers, practice group activities. Providing an appropriate relationship with the management of the learning environment or online classroom. and correlation with self-motivated students in online learning. and self-development all the time.