dc.contributor.author |
พชรชล ตั้งแต่ง |
|
dc.contributor.author |
กนกพร นันทจักร์ |
|
dc.contributor.author |
ณัฐณิชา ในเมือง |
|
dc.contributor.author |
มาริสา สายเทพ |
|
dc.contributor.author |
เบญจมาศ เคนแสง |
|
dc.contributor.author |
อารยา ดำช่วย |
|
dc.contributor.author |
Pacharachol Tungtang |
|
dc.contributor.author |
Kanokporn Nantajak |
|
dc.contributor.author |
Nattanicha Naimuang |
|
dc.contributor.author |
Marisa Saithep |
|
dc.contributor.author |
Benjamas Kensang |
|
dc.contributor.author |
Araya Dumchauy |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
en |
dc.date.accessioned |
2024-08-24T11:08:21Z |
|
dc.date.available |
2024-08-24T11:08:21Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2665 |
|
dc.description |
Proceedings of the 9th National and International Conference on "Research to Serve Society", 1st July 2022 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. (e-Conference) p. 829-840. |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านองค์กร ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์ต่อระดับความเครียดของตำรวจสถานีตารวจภูธรเมืองระยอง จังหวัดระยอง ในสถานการณ์การระบาดโควิด-19 ระลอก 3 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 176 คน สุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบไปด้วย 1)แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล จำนวน 9 ข้อ 2) แบบวัดระดับความเครียดสวนปรุง (SPST-20) จำนวน 20 ข้อ 3) ปัจจัยด้านองค์กร จำนวน 25 ข้อ 4) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 30 ข้อ มีค่าความเที่ยงตรง เท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงอนุมาน โดยใช้ Chi-Square test ผลการศึกษาพบว่า ระดับความเครียดของตำรวจสถานีตารวจภูธรเมืองระยอง จังหวัดระยอง ในสถานการณ์การระบาดโควิด-19 ระลอก 3 ส่วนใหญ่อยู่ในระดับเครียดสูง คิดเป็นร้อยละ 69.90 ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ต่อระดับความเครียดของตารวจสถานีภูธรเมืองระยอง ได้แก่ อายุ (p-value* = 0.001) ระดับการศึกษา (p-value* = 0.001) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนในครอบครัว (p-value* = 0.004) ปัจจัยด้านองค์กร (p-value* = 0.004) และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (p-value* = 0.000) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ข้อเสนอแนะ ผู้บังคับบัญชาควรจัดกิจกรรมเพื่อผ่อนคลายความเครียด และส่งเสริมให้ตำรวจและครอบครัวมีอาชีพเสริม เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ลดภาระหนี้สิน และมีเงินออมไว้ใช้ในอนาคต |
en |
dc.description.abstract |
This research is a cross-sectional descriptive research. to study personal factors organizational factors Environmental factors related to stress level of police at Muang Rayong Provincial Police Station, Rayong Province in 3 waves of Covid-19 outbreak situation, sample group of 176 people, randomly selected. The instruments used in the study consisted of 1) Personal Factors Questionnaire (9 items), 2) Seasoned Stress Scale (SPST-20) (20 items), 3) Organizational Factors (25 items), 4) Environmental Factors, 30 items. The accuracy was 0.91. Data were analyzed using inferential statistics using Chi-Square test. The results of the study found that The stress level of the police at Muang Rayong Police Station, Rayong Province during the 3rd wave of Covid-19 outbreak, was mostly at high stress level. accounted for 69.90 percent, personal factors that The correlation with stress level of Muang Rayong Provincial Police Station was age (p-value* = 0.001), level of education (p-value* = 0.001), average monthly income in the family (p-value* = 0.004). Organization (p-value* = 0.004) and environmental factors (p-value* = 0.000) were statistically significant 0.05. Suggestions: Supervisors should organize activities to relieve stress. and encourage the police and their families to have additional careers to reduce expenses, increase income, reduce debt burden and have savings for future use |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
ความเครียด (จิตวิทยา) |
en |
dc.subject |
Stress (Psychology) |
en |
dc.subject |
โควิด-19 (โรค) |
en |
dc.subject |
COVID-19 (Disease) |
en |
dc.subject |
การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- |
en |
dc.subject |
COVID-19 Pandemic, 2020- |
en |
dc.subject |
ตำรวจ |
en |
dc.subject |
Police |
en |
dc.subject |
สถานีตำรวจภูธรเมืองระยอง |
en |
dc.subject |
Muang Rayong Provincial Police Station |
en |
dc.title |
ความเครียดและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดในการปฏิบัติงานของตำรวจ สถานีตำรวจภูธรเมืองระยอง จังหวัดระยอง ในสถานการณ์การระบาดโควิด-19 |
en |
dc.title.alternative |
Stress and Factors Related to Operational Stress of the Muang Rayong Provincial Police Station, Rayong Province in the Situation Of the COVID-19 Outbreak |
en |
dc.type |
Proceeding Document |
en |