dc.contributor.author |
พรรณปพร ลีวิโรจน์ |
|
dc.contributor.author |
Panpaporn Leeviroj |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare |
en |
dc.date.accessioned |
2024-09-24T13:42:10Z |
|
dc.date.available |
2024-09-24T13:42:10Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2884 |
|
dc.description |
หนังสือประมวลบทความ (proceeding) การประชุมทางวิชาการด้านคนพิการระดับชาติ ครั้งที่ 7 ประจำปี 2558 ณ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการ ถ.แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร: จัดโดย กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และ สถาบัน หน่วยงาน องค์กร ที่ร่วมลงนามบันทึกความร่วมมือทางวิชาการ ; บรรณาธิการ ขัตติยา กรรณสูต.หน้า 243-258. |
en |
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ :
https://dep.go.th/uploads/Downloads/29fb6255-dea3-43ee-9c3a-10c56c5cf9fe05%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%9E%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%9F%E0%B8%B9.pdf |
en |
dc.description.abstract |
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจัดเป็นผู้พิการทางจิต เนื่องจากมีความบกพร่องในการดําเนินชีวิตประจําวัน และจําเป็นต้องพึ่งพา ผู้อื่น โดยโรคซึมเศร้าจะมีอาการเป็นๆ หายๆ จากภาวะเครียด วิตกกังวลและความคิดฟุ้งซ่าน เป็นเหตุให้มีอารมณ์เศร้า และ ต้องเผชิญอยู่กับอารมณ์เศร้าตลอดกาล ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาจถึงขั้นฆ่าตัวตายในที่สุด สําหรับโรคซึมเศร้าไม่สามารถรักษา ให้หายขาดได้ด้วยยา แต่ยาเป็นเพียงไปช่วยยับยั้งการหลั่งสารสื่อประสาท Serotonin และ Dopamine ที่กระตุ้นทําให้ อารมณ์เศร้า แต่ถ้ามีอารมณ์เศร้าอีกสารสื่อประสาทเหล่านี้ก็จะหลั่งออกมาผิดปกติ และกลับมีอาการเศร้าได้อีก ส่วนการ บําบัดทางจิตที่ผ่านมา มีการบําบัดที่หลากหลาย แต่ก็ไม่สามารถบําบัดได้เช่นกัน เพราะเป็นเพียงไปยับยั้งอาการซึมเศร้าได้ชั่วขณะ เช่น การบําบัด CBT (Cognitive Behavior Therapy) เป็นการบําบัดที่ถูกยอมรับกันมากที่สุด แต่เมื่อระยะเวลาผ่าน ไป อาการซึมเศร้ากลับมาอีก ดังนั้น การบําบัดความคิดอย่างมีสติ (Mindfulness-Based Cognitive Therapy, MBCT) เป็นการปรับความสมดุลของสมองและปรับกระบวนการคิด ทําให้ลดภาวะซึมเศร้าและไม่กลับมาเป็นซ้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการเจริญสติในรูปแบบต่างๆ เพื่อควบคุมจิต ดึงจิตไม่ให้ฟุ้งซ่าน เมื่อจิตสงบเป็นสุข สารสื่อประสาทหลั่งออกมาปกติทําให้ อารมณ์สุข ประกอบกับมีการปรับความคิดทางลบ ที่เป็นเหตุให้เกิดอารมณ์เศร้า ทําให้อารมณ์เป็นสุขมากขึ้น ในที่สุดสามารถ ลดอารมณ์เศร้าและการกลับเป็นซ้ำของโรคได้แท้จริง |
en |
dc.description.abstract |
Patients with major depressive disorder can be classified as disabled, because they can not perform normal routine and have to rely on others. The depression is a symptom recurrence from stressful, Anxiety and muddle, as a result, patients faced with depression forever. If patients do not receive treatment, they may eventually committed suicide. However treatment can not be completely cured. Yet, using drug as treatment is only going to help inhibit the secretion of the neurotransmitter Serotonin and Dopamine to trigger depression. But if there's a sad lack forecast again. These neurotransmitters are released disorders and sadly there again. For the treatment of psychosis in the past, there are treatments that much. But it can not be treated as well. It is simply folded sustainable Depression, for example, the treatment of CBT (Cognitive Behavior Therapy) is the most widely accepted. But as time passed by; more and more symptoms of depression relapse. Therefore, the treatment of thoughtless awareness. (Mindfulness-Based Cognitive Therapy, MBCT) the balance of the brain and thought processes. As a result, reducing depression and recurrent disease effectively with mindfulness in various ways to control the mind and thought not to be distracted. When pleasantly calmed Neurotransmitters will released usual happy mood. And the negative thoughts and the cause of depression. finally, patients can reduce depression and recurrence of the disease entirely. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.rights |
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และ สถาบัน หน่วยงาน องค์กร ที่ร่วมลงนามบันทึกความร่วมมือทางวิชาการ |
en |
dc.subject |
โรคซึมเศร้า |
en |
dc.subject |
ความซึมเศร้า |
en |
dc.subject |
Depression, Mental |
en |
dc.subject |
เคมีสมอง |
en |
dc.subject |
Brain chemistry |
en |
dc.subject |
การบําบัดความคิดอย่างมีสติ |
en |
dc.subject |
Mindfulness-based cognitive therapy |
en |
dc.subject |
สติ (จิตวิทยา) |
en |
dc.subject |
Mindfulness (Psychology) |
en |
dc.title |
การปรับสมดุลทางสมอง: พิชิตความพิการทางจิตในโรคซึมเศร้า |
en |
dc.title.alternative |
The Balance of Brian Adjustment : A Overcome of Patents with Major Depressive Disorder |
en |
dc.type |
Proceeding Document |
en |