DSpace Repository

การประเมินความเสี่ยงจากท่าทางการทำงานกับคอมพิวเตอร์ในสำนักงานเขตแห่งหนึ่งจังหวัดกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author อภิญญา มงคลเลิศมณี
dc.contributor.author ปภาวดี ดอนทราย
dc.contributor.author ชัชชญะณัฐ ทองปลอด
dc.contributor.author พรพิมล เชวงศักดิ์โสภาคย์
dc.contributor.author Apinya Mongkhonloedmani
dc.contributor.author Papawadee Donsaiy
dc.contributor.author Chutchayanat Thongplod
dc.contributor.author Pornpimol Chawengsaksopark
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.date.accessioned 2024-09-24T15:36:28Z
dc.date.available 2024-09-24T15:36:28Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2892
dc.description Proceedings of the 10th National and International Conference on "Research to Serve Society", 29 June 2023 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. (e-Conference on Zoom) p. 183-195. en
dc.description.abstract การวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงจากท่าทางการทำงานกับคอมพิวเตอร์และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูก โครงร่างในสำนักงานเขตแห่งหนึ่ง จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 105 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสังเกตท่าทางการปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ แบบประเมิน Body discomfort และแบบประเมินท่าทางการทำงานด้วยวิธี (ROSA) ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 คน ตรวจสอบความคงที่ของแบบสอบถามด้วยวิธี Cronbach’s Alpha Coeffient การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามร่วมกับการประเมินท่าทางการปฏิบัติงานจากภาพถ่าย การวิจัยครั้งนี้ได้รับแบบสอบถามคืนจำนวน105 ชุด (ร้อยละ 100) และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติพรรณนา และ สถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ในระดับความเสี่ยงปานกลาง งานนั้นเริ่มมีปัญหาควรปรับปรุงแก้ไขจานวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 52.4 รองลงมาคือระดับความเสี่ยงสูงจาเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขงานนั้นอย่างรวดเร็ว จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 47.6 ค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้สึกปวด เมื่อยล้าส่วนของร่างกายด้านซ้าย 5 อันดับแรกคือ หัวเข่า หลังส่วนกลาง นิ้วมือหลังส่วนบน และต้นคอ มีคะแนนเฉลี่ย 0.41, 0.30, 0.27, 0.27 และ 0.18 ตามลำดับ ค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้สึกปวดเมื่อยล้าส่วนของร่างกายด้านขวา 5 อันดับแรกคือ หลังส่วนบน ข้อมือ หัวเข่า หลังส่วนกลาง และนิ้วมือมีคะแนนเฉลี่ย 0.44, 0.31, 0.30, 0.27 และ 0.27 ตามลำดับ สรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างมีความปวดเมื่อยด้านขวามากกว่าด้านซ้าย เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง พบว่า เพศ การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ และชั่วโมงการทำงานกับคอมพิวเตอร์ต่อวัน มีความสัมพันธ์กับระดับความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p-value ‹ 0.05 ) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงว่า พนักงานที่ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ในสานักงานเขตแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานครมีความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ในระดับความเสี่ยงปานกลางมากกว่าเสี่ยงสูง ดังนั้นจึงควรยืดเส้นยืดสายก่อนปฏิบัติงานหลีกเลี่ยงการนั่งทำงานซ้าๆ ในเวลานาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน en
dc.description.abstract The purpose of this descriptive research was to assess the risk of working posture computers and the correlation of individual factors with the injury of skeletal muscles and bones of employees in the one Bangkok district office with the total of 105 people. The research tool was a personal information questionnaire, the observation form for working posture with a computer, the body discomfort assessment form, and the working posture assessment form by the Rapid Offices Strain Assessment (ROSA) method. All was examined for content validity by 3 experts and the reliability of the questionnaire was measured using Cronbach’s Alpha Coeffient method. A total of 105 questionnaires (100%) was received in this research and the data were analyzed by descriptive and chi-square statistics. The results showed most of the sample group has a risk of ergonomics at a moderate risk level. The work began to have problems and should be improved for 55 people, representing 52.4 percent, followed by a high level of risk requiring quickly work left side body were the knee, mid back, fingers, upper back and neck with mean scores of 0.41, 0.30, 0.27 and 0.18, respectively. The top 5 groups of pain and fatigue on the right side of the body were upper back, wrists, knees, mid back and fingers with mean scores of 0.44, 0.31, 0.30, 0.27 and 0.27, respectively. It can conclude that right side had more pain than left side. When analyzing personal factors that correlated with the level of the injury risk of skeletal muscle and bones. It was significantly correlated with gender, smoking, alcohol consumption and hours of work with computers per day (p-value < 0.05). The results of this research show that employees who worked with computers in one Bangkok district office had ergonomics risks at moderated risk higher that risk levels. Therefore, they should stretch before working and avoid sitting for long period of time to reduce the risk of muscle injury and skeletal bones related to working. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject เออร์โกโนมิกส์ en
dc.subject Human engineering en
dc.subject ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก en
dc.subject Musculoskeletal system en
dc.subject โรคเกิดจากอาชีพ en
dc.subject Occupational diseases en
dc.subject ท่านั่ง en
dc.subject Sitting position en
dc.subject การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ en
dc.subject Health risk assessment en
dc.title การประเมินความเสี่ยงจากท่าทางการทำงานกับคอมพิวเตอร์ในสำนักงานเขตแห่งหนึ่งจังหวัดกรุงเทพมหานคร en
dc.title.alternative The risk assessment of working posture with computers in a district office in Bangkok en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account