DSpace Repository

ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในจังหว้ดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author น้ำฝน ศรีรมย์
dc.contributor.author ณัฏฐวี ชั่งชัย
dc.contributor.author อุมารัตน์ ศิริจรูญวงศ์
dc.contributor.author Namfon Srirom
dc.contributor.author Nuttawee Changchai
dc.contributor.author Umarat Sirijaroonwong
dc.contributor.other Eastern Seaboard Industrial Estate en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.date.accessioned 2024-10-12T06:18:13Z
dc.date.available 2024-10-12T06:18:13Z
dc.date.issued 2020
dc.identifier.citation วารสาร มฉก. วิชาการ 24, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563) : 75-86. en
dc.identifier.issn 0859-9343 (Print)
dc.identifier.issn 2651-1398 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3001
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/198099/165521 en
dc.description.abstract สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัยต่อสุขภาพเป็นความคาดหวังของผู้ปฏิบัติงานที่ช่วยสร้างเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การวิจัยนี้เป็นการศึกษาภาคตัดดขวาง (cross sectional study) เพื่อประเมินการรับสัมผัสอันตรายต่อสุขภาพจากสภาพแวดล้อมในการทำงานของพนักงาน ประเมินความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน หาความแตกต่างของประสิทธิภาพการปฏิบัติงานระหว่างเพศ และหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคุกคามสุขภาพจากสภาพแวดล้อมในการทำงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน ศึกษาในตัวอย่างจำนวน 67 คน โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ t-test และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson-correlation) ผลการวิจัย พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 23-35 ปี การศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานที่บริษัท 10-17 ปี มีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 9,000-26,000 บาท มีโอกาสในการรับสัมผัสอันตรายต่อสุขภาพจากสภาพแวดล้อมในการทำงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 2.97+- .08) โดยมีโอกาสในการรับสัมผัสอันตรายด้านกายภาพสูงที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 3.22 +- 97) ประเด็นที่ได้รับสัมผัสอยู่เป็นประจำสามอันดับแรก ได้แก่ เสียงดัง บรรยากาศที่ร้อน และความร้อนจากเครื่องจักร (ร้อยละ 37.50 35.80 และ 28.40 ตามลำดับ) สำหรับประสิทธิภาพการทำงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.97 +- 56) ประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานขายมากกว่าหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.004) และโอกาสในรับสัมผัสอันตรายด้านชีวภาพและด้านจิตสังคม มีความสัมพันธ์ในทางเดียวกันกับประสิทธิภาพการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.01 และ 0.02 ตามลำดับ) แต่สัมพันธ์กันอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ (r = 0.31 และ 0.27 ตามลำดับ) en
dc.description.abstract The objectives of this study were to evaluate employees’ opinions about work efficiency to identify the difference in performance between gender and to study the relationship between health threat factors from the working environment and the work efficiency of the employees. It was a cross-sectional descriptive study. Sixty seven (67) samples were selected in this study and the questionnaire was used to collect the data. Data analysis was undertaken by using the independent T-test and Pearson-correlation. The result indicated that the majority of sample in the study was male. Most of them were between 23-35 years old, with academic qualification level below bachelor degree. Duration of working at the company was 10-17 years. Mainly, monthly income was between 9,000 to 26,000 baht. Sample has the opportunity level of exposure to health hazards from the work environment as perceived by employees in overall, was at a medium level (mean = 2.97 +- 80) with the highest opportunity of exposure to physical health hazards (mean = 3.22 +-.97). The top three aspects regularly exposed were the loud noise, hot working atmospheres and heat from the machines (37.50 35.80 and 28.40% respectively). On the other hand, the efficacy of work according to the opinion of employees was at a high level (mean = 3.97 +- .56). Males had significantly higher levels of working efficiency than females (p=0.004). The opportunities for exposure to biological and psychosocial hazards had significantly correlation with the efficacy level of working (p=0.01 and 0.02 respectively). However, the correlations were positively correlated at quite low levels (r=0.31 and -0.27 respectively). en
dc.language.iso th en
dc.subject อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ – พนักงาน en
dc.subject Automobile supplies industry – Employees en
dc.subject สภาพแวดล้อมการทำงาน en
dc.subject Work environment en
dc.subject ผลิตภาพแรงงาน en
dc.subject Labor productivity en
dc.subject อาชีวอนามัย en
dc.subject Industrial hygiene en
dc.subject ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม en
dc.subject Industrial safety en
dc.subject ประสิทธิภาพ en
dc.title ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในจังหว้ดชลบุรี en
dc.title.alternative Factors Affecting the Work Efficacy of Employees of Automotive Parts Factories at Chonburi Province en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account