dc.contributor.author |
วิญญ์ทัญญู บุญทัน |
|
dc.contributor.author |
ตฤณ ทิพย์สุทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
ศิริวรรณ ตุรงค์เรือง |
|
dc.contributor.author |
จิตรประภา รุ่งเรือง |
|
dc.contributor.author |
รักษ์สุดา ชูศรีทอง |
|
dc.contributor.author |
เนาวรัตน์ กระมูลโรจน์ |
|
dc.contributor.author |
กัลยา มั่นล้วน |
|
dc.contributor.author |
Winthanyou Bunthan |
|
dc.contributor.author |
Trin Thipsut |
|
dc.contributor.author |
Siriwan Turongruang |
|
dc.contributor.author |
Jitprapa Rungruang |
|
dc.contributor.author |
Ruksuda Choosrithong |
|
dc.contributor.author |
Naowarat Kramulroj |
|
dc.contributor.author |
Kanlaya Munluan |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.date.accessioned |
2024-10-14T11:51:08Z |
|
dc.date.available |
2024-10-14T11:51:08Z |
|
dc.date.issued |
2021 |
|
dc.identifier.citation |
วารสาร มฉก. วิชาการ 25, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564) : 168-179. |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3036 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ :
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/250563/171468 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติในปีการศึกษา 2563 จำนวน 136 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบประเมินปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวร้สโคโรนา 2019 ที่ได้รับการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน และมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .887, .895, .859, .842, .899, .919 และ .853 ตามลำดับ เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ. 2563 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ การรับรู้ความสามารถของตนเอง อิทธิพลระหว่างบุคคล อิทธิพลจากสถานการณ์ ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม อยู่ในระดับสูง ยกเว้นคะแนนเฉลี่ยการรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง และมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับสูง ในการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยการรับรู้ความสามารถของตนเอง และปัจจัยอิทธิพล ระหว่างบุคคล สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติได้ ร้อยละ 39.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) โดยปัจจัยการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติมากที่สุด |
en |
dc.description.abstract |
This research aims to study the factors influencing health promotion behavior in the prevention of COVID-19 infection among first-year students, Huachiew Chalermprakiet University. The sample consisted of 136 first-year students of Huachiew Chalermprakirt University in the 2020 academic year. The research instruments consisted of the assessment of factors influencing health promotion behavior for prevention of COVID-19, which were validated for accuracy the content was based on five experts and Cronbach’s alpha coefficients were .887, .895, .859, .842, .899, .919 and .853, respectively. Data was collected in November-December 2017. The data were analyzed by Multiple Regression Analysis statistics as Stepwise method. The results showed that the first-year students of Huachiew Chalermprakiet University have an average score to Perceived benefits of actions, Perceived self-efficacy, Activity-related effect, Interpersonal influences, Situational influences were at a high level, except for the average score of Perceived barriers to action was at a moderate level, and had a high average score of health promotion behavior in the prevention of COVIID-19 infection. In the multiple regression analysis, it was found that the Perceived self-efficacy factor and the Interpersonal influences factor were able to predict health promotion behaviors in the prevention of Coronavirus Disease (COVID-19) of the first-year students of Hunches Chalermprakiet University were 39.50 percent at statistically significant (p<.05). Perceived self-efficacy influence of health promotion behavior to prevent coronavirus 2019 (COVID 19) infection of first-year students at Huachiew Chalermprakiet University. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
การส่งเสริมสุขภาพ |
en |
dc.subject |
Health promotion |
en |
dc.subject |
โควิด-19 (โรค) – การป้องกัน |
en |
dc.subject |
COVID-19 (Disease) – Prevention |
en |
dc.subject |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ – นักศึกษา |
en |
dc.subject |
Huachiew Chalermprakiet University -- Students |
en |
dc.title |
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.title.alternative |
Factors Affecting the Health Promoting Behaviors to Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Infecting Prevention of the First-year Students in Huachiew Chalermprakiet University |
en |
dc.type |
Article |
en |