dc.contributor.author |
ปนัดดา ลี้ยาง |
|
dc.contributor.author |
เสาวณีย์ วรวุฒางกูร |
|
dc.contributor.author |
นงนภัส เจริญพานิช |
|
dc.contributor.author |
Panadda Leeyang |
|
dc.contributor.author |
Saowanee Woravutrangkul |
|
dc.contributor.author |
Nongnapas Charoenpanich |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Sports Science |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Physical Therapy |
en |
dc.contributor.other |
Faculty of Sports Science. Chulalongkorn University |
en |
dc.date.accessioned |
2024-10-18T00:09:30Z |
|
dc.date.available |
2024-10-18T00:09:30Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ 21, 1 (มกราคม-เมษายน 2563) : 84-96 |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3043 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่:
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/spsc_journal/article/view/241474/164473 |
en |
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบข้อมูลทางคิเนมาติกส์ของการว่ายน้ำใต้น้ำ หลังกระโดดที่ระยะทางใกล้และระยะไกล (A maximum effort) ช่วงมุดน้ำ และช่วงว่ายน้ำใต้น้ำ
วิธีดําเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาว่ายน้ำชายอายุระหว่าง 18-25 ปี จํานวน 6 คน มีความถนัดในการกระโดดน้ำแบบเท้านํา เท้าตาม (A track start) และเคยเข้าร่วมการแข่งขันระดับกีฬาแห่งชาติ กีฬามหาวิทยาลัย หรือการแข่งขันว่ายน้ำชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย โดยให้นักกีฬากระโดดนนำแบบเท้านํา เท้าตามที่ระยะใกล้และไกล บันทึกภาพการเคลื่อนไหวใต้น้ำ โดยกล้องความถี่สูงจํานวน 6 ตัว ทําาการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Qualisys Motion Capture เพื่อหาระยะที่ศีรษะลงลึกที่สุดจากผิวน้ำ ระยะที่เท้าลงลึกที่สุดจากผิวน้ำ ระยะทางที่เริ่มเตะขาครั้งแรก ความเร็วแนวราบขณะเตะขาใต้น้ำ และขณะว่ายน้ำใต้น้ำ ทําการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรดังกล่าว ระหว่างเงื่อนไขโดยใช้การทดสอบค่าทีรายคู่ (Paired t-test) และเปรียบเทียบช่วงว่ายน้ำใต้น้ำทั้ง 3 รอบการเตะด้วยการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียวชนิดวัดซ้ำ กําหนดระดับความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ≤ 0.05
ผลการวิจัย การกระโดดนำที่ระยะไกลส่งผลให้ระยะที่ศีรษะและเท้าลงลึกที่สุดน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการกระโดดที่ระยะใกล้ ในขณะที่ระยะทางที่เริ่มเตะ ขาครั้งแรกไกลกว่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อย่างไรก็ตาม ความเร็วในแนวราบไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้การกระโดดที่ระยะใกล้มีความเร็วในแนวราบของการเตะขารอบที่ 1 น้อยกว่ารอบที่ 3 อย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
สรุปผลการวิจัย การกระโดดน้ำแบบเท้านําเท้าตามที่ระยะไกลใช้เวลาในการมุดน้ำไม่แตกต่างจาก การกระโดดที่ระยะใกล้ อย่างไรก็ตามการกระโดดที่ระยะไกลส่งผลให้ศีรษะและเท้าจมน้ำน้อยกว่าซึ่งอาจส่งผลให้ใช้เวลาในช่วงออกตัวน้อยกว่าการกระโดดที่ระยะใกล้ |
en |
dc.description.abstract |
Purpose: This study aimed to determine and compare the kinematic data of underwater undulatory swimming (UUS) after a short and long (maximum effort) distance jumping.
Methods: Six male swimmers aged 18-25 years old were recruited for this study. Each swimmer had experienced in swimming competition at either the University game or National game levels. Each swimmer was asked to jump with a track start at either a short or a long (farthest) distance. Six underwater high speed cameras were used to collect data at a swimming pool. Qualisys motion capture system was used for data analysis. Maximum depth of head and foot, a distance of first kick from a start point, a horizontal velocity of gliding and underwater swimming phases were recorded. The mean differences of all dependent variables were compared between jumping conditions by using a paired t-test and between three underwater kicks by using one-way ANOVA respectively. The statistical significant was set at p-value ≤ .05.
Results: A long-distance jumping produced the lesser depth of head and foot in the water compared with a short-distance jumping. Whereas, the first kick was start at the farther distance during a long jumping compared with shorter jumping, the horizontal velocity was not significant different between conditions. Moreover, a short distance jumping showed a significant less horizontal velocity of the first kick than of the third kick.
Conclusion: A long-distance of track swimming start showed no difference in time to gliding the water, but produced the lesser depth of head and foot in the water than a short-distance jumping. Thus, it can lead to the lesser time in a track start. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
การว่ายน้ำ |
en |
dc.subject |
Swimming |
en |
dc.subject |
การกระโดดน้ำแบบเท้านําเท้าตาม |
en |
dc.subject |
Track swimming start |
en |
dc.subject |
จลนศาสตร์ |
en |
dc.subject |
Kinematics |
en |
dc.subject |
การเคลื่อนไหวใต้น้ำ |
en |
dc.subject |
Underwater undulatory swimming |
en |
dc.subject |
นักว่ายน้ำ |
en |
dc.subject |
Swimmers |
en |
dc.title |
การวิเคราะห์ข้อมูลทางคิเนเมติคส์ในช่วงการเคลื่อนไหวใต้น้ำภายหลังการออกตัวแบบเท้านํา เท้าตาม |
en |
dc.title.alternative |
Kinematic Analysis of Underwater Undulatory Swimming Phase after a Track Start |
en |
dc.type |
Article |
en |