DSpace Repository

การกําจัดซีโอดีในน้ำเสียจากโรงงานผลิตสีด้วยวิธีการตกตะกอนทางเคมี

Show simple item record

dc.contributor.author อนุภัทร สุดบรรฑิตย์
dc.contributor.author ณัฏฐวี ชั่งชัย
dc.contributor.author Anuphat Sudbundit
dc.contributor.author Nuttawee Changchai
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.date.accessioned 2024-10-18T01:51:31Z
dc.date.available 2024-10-18T01:51:31Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.citation ว.มทรส. 6, 2 (July-December 2561) : 171-181 en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3049
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://li01.tci-thaijo.org/index.php/rmutsb-sci/article/view/149278/116685 en
dc.description.abstract น้ำเสียจากโรงงานผลิตสีมีสารประกอบหลากหลายชนิด และจําเป็นต้องได้รับการบําบัดอย่างเหมาะสมก่อนปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของสารสร้างตะกอน (เฟอริคคลอไรด์และโพลีอะลูมิเนียม-คลอไรด์) ได้แก่ ปริมาณสารสร้างตะกอนและพีเอช รวมถึงเปรียบเทียบประสิทธิภาพการกําจัดซีโอดีของสารสร้างตะกอนทั้งสองชนิด เก็บตัวอย่างน้ำเสียจากถังรวบรวมน้ำเสียของกระบวนการพ่นสี และนํามาศึกษาการกําจัดค่าซีโอดีด้วยวิธีตกตะกอนทางเคมี โดยใช้การทดลองจาร์เทส คุณลักษณะของตัวอย่างน้ำเสียมีดังนี้ พีเอช 7.01+0.03 ความขุ่น 803.67+8.14 NTU สี 440.80 +1.86 SU และซีโอดี 1,120+13.23 มิลลิกรัมต่อลิตร ผลการศึกษาพบว่า สภาวะที่เหมาะสมของเฟอริคคลอไรด์ ได้แก่ ปริมาณ เฟอริคคลอไรด์ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร พีเอช 5 มีประสิทธิภาพการกําจัดซีโอดีสูงที่สุด คิดเป็น 33.04 เปอร์เซ็นต์ สําหรับสภาวะที่เหมาะสมของโพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์ ได้แก่ ปริมาณโพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์ 600 มิลลิกรัมต่อลิตร พีเอช 7 มีประสิทธิภาพการกําจัดซีโอดีสูงที่สุด คิดเป็น 37.90 เปอร์เซ็นต์ ผลการศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่าโพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์ มีประสิทธิภาพในการกําจัด ซีโอดีในน้ำเสียจากโรงงานผลิตสีได้ใกล้เคียงกับเฟอริคคลอไรด์ en
dc.description.abstract Wastewater from paint factory contains various heterogeneity compounds and needs appropriate treatment before released into environment. The objectives of this research were to evaluate the optimum condition of coagulants (ferric chloride and polyaluminium chloride) i.e. coagulant dosage and pH, and to compare the COD removal efficiencies of the coagulants. Wastewater samples were collected from a tank of spray painting process and it was subjected to study COD removal by using chemical precipitation method through Jar test experiment. The average values of raw wastewater characteristic were pH 7.01+0.03, turbidity 803.67+8.14 NTU, color 440.80+1.86 SU, and COD 1,120+13.23 mg/L. Result of the study found that an optimum condition for ferric chloride was 500 mg/L at pH 5 with 33.04% the highest efficiency in COD removal. In addition, an optimum condition for polyaluminium chloride was 600 mg/L at pH 7 with 37.90% the highest efficiency in COD elimination. Result demonstrated that the effective in COD removal of polyaluminium chloride was very similar to ferric chloride. en
dc.language.iso th en
dc.subject น้ำเสีย -- การบำบัด – การกำจัดสี en
dc.subject Sewage -- Purification -- Color removal en
dc.subject น้ำเสีย -- การบำบัด – การตกตะกอน en
dc.subject Sewage -- Purification – Precipitation en
dc.subject โพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์ en
dc.subject Polyaluminum chlorides en
dc.subject เฟอริคคลอไรด์ en
dc.subject Ferric chloride en
dc.title การกําจัดซีโอดีในน้ำเสียจากโรงงานผลิตสีด้วยวิธีการตกตะกอนทางเคมี en
dc.title.alternative The paint factory’s wastewater: COD removal by chemical precipitation method en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account