DSpace Repository

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติที่ไม่สามารถควบคุมได้

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชฎาภา ประเสริฐทรง
dc.contributor.advisor วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย
dc.contributor.advisor Chadapa Prasertsong
dc.contributor.advisor Vanida Durongrittichai
dc.contributor.author ยุภา โพผา
dc.contributor.author Yupa Phopa
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2022-05-17T12:06:43Z
dc.date.available 2022-05-17T12:06:43Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/309
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557 th
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติไม่สามารถควบคุมได้ กลุ่มตัวอย่างอาศัยในตำบลโสนลอย อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เป็นผู้ที่มีค่าระดับไขมันชนิดร้ายแอลดีแอล มากกว่า 100 มก./ดล. มีโรคประจำตัว ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดหรือขาดเลือดชั่วคราว โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบแข็ง โรคเบาหวาน อย่างน้อย 1 โรค รับการรักษาด้วยยาอย่างน้อย 3 เดือน ในโรงพยาบาลบางบัวทอง จำนวน 65 ราย รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียลและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่าผู้มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติไม่สามารถควบคุมได้มีพฤติกรรมสุขภาพ โดยรวมระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.96 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.87 เมื่อวิเคราะห์รายด้าน พบว่า การจัดการความเครียดและความรับผิดชอบต่อสุขภาพอยู่ระดับมาก ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.17 และ 3.14 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.77 และ 0.80 มีการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย อยูู่ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.99 2.98 2.91 และ 2.57 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.84 0.80 0.95 และ 1.01 ปัจจัยที่สัมพันธ์ พบว่ามีผลกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติที่ไม่สามารถควบคุมได้ ได้แก่ ระดับการศึกษา (rpb = 0.25, p <.05) ระดับความเครียด (r = -0.38, p <.01) ค่าความดันโลหิตตัวล่าง (r = -0.30, p <. 05) การรับรู้ประโยชน์ (r = 0.48, p <. 01) การรับรู้ ความสามารถของตนเอง (r = 0.72, p <.01) ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (r = 0.51, p <.01) อิทธิพลระหว่างบุคคล (r = 0.67, p<.01) อิทธิพลจากสถานการณ์ (r = 0.46, p <. 01) และความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (r = 0.72, p <. 01) การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่าควรนำปัจจัยที่พบไปส่งเสริมหรือออกแนวปฏิบัติพยาบาลให้ผู้มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ปรับพฤติกรรมสุขภาพแต่ละด้านให้เหมาะสม th
dc.description.abstract The purpose of this study was to assess the factors associated with health behaviors of uncontrolled dyslipidemia. The population used in this study were living in Tambon Sano Loi, Bang Bua Thong district, Nonthaburi province with whose low density lipoprotein cholesterol level is more than 100 mg/dl. Has been diagnosed that include Coronary heart disease, Cerebral ischemic stroke or Transient ischemic attack, Peripheral arterial disease and Diabetes at least one disease and who has been receiving lipid- lowering drug for least 3 months be for enrollment. Data used follow up at Bang Bua Thong Hospital. A total of 65 sample were used in this study. Data collected with the use of questionnaire. The content validity of all questionnaires was confirmed to be valid by a panel of experts and the reliability of the questionnaire was 0.91. The data were analyzed using description statistic, point biserial correlation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The result showed that. The level of health behaviors of those with uncontrolled dyslipidemia is in overall moderate with mean of 2.96 and standard deviation of 0.87. The aspects of stress management and the responsibility for health analyzed and showed were at high level. With a mean of 3.17 and 3.14 respectively and standard deviation of 0.77 and 0.80 respectively. The spiritual management, interpersonal influence, nutrition and physical activity were all at moderate level. With mean of 2.99 2.98 2.91 and 2.57 respectively and standard deviation of 0.84 0.80 0.95 and 1.01 respectively. The factors found to be associated with health behavior with uncontrolled dyslipidemia such the level education (rpb=0.25, p<.05), stress (r=-0.38, p<.01), diastolic blood pressure (r=-0.30, p<.05), perceived benefit (r=0.48, p<.01), self-efficacy (r=0.72, p<.01), activity related affect (r=0.51, p<.01), interpersonal influence (r=0.67, p<.01), situational influence (r=0.46, p<.01) and commitment to plan of actions (r=0.72, p< .01). This study have suggested that the factors should be used in promoted people with uncontrolled Dyslipidemia adjusted to health behavior each side for appropriate. th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject พฤติกรรมสุขภาพ th
dc.subject Health behavior th
dc.subject โคเลสเตอรอล th
dc.subject Cholesterol th
dc.subject ไขมันในเลือด th
dc.subject Blood cholesterol th
dc.title ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติที่ไม่สามารถควบคุมได้ th
dc.title.alternative Factors Associated with Health Behaviors of Uncontrolled Dyslipidemia th
dc.type Thesis th
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account