dc.contributor.author |
นิลาวรรณ งามขำ |
|
dc.contributor.author |
อุมาพร นิ่มเรือง |
|
dc.contributor.author |
พิชชาพร พินิตย์อัทธยา |
|
dc.contributor.author |
พรชนก อิสสระ |
|
dc.contributor.author |
อรอุมา พรมมาศ |
|
dc.contributor.author |
เสาวลักษณ์ สิงห์วงษ์ |
|
dc.contributor.author |
ศิริลักษณ์ ฟูเกษม |
|
dc.contributor.author |
Nilawan Ngamkham |
|
dc.contributor.author |
Umaporn Nimrueng |
|
dc.contributor.author |
Pichaporn Phinitatthaya |
|
dc.contributor.author |
Pornchanok Issara |
|
dc.contributor.author |
Onuma Prommas |
|
dc.contributor.author |
Saowaluck Singhawong |
|
dc.contributor.author |
Sirilak Fukasem |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health. Student of Bachelor of Public and Environmental Health. |
en |
dc.date.accessioned |
2024-10-27T07:56:36Z |
|
dc.date.available |
2024-10-27T07:56:36Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.citation |
วารสาร มฉก. วิชาการ 24,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 136-145. |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3140 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่:
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/243375/167517 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการยอมรับการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของบุคลากรโรงพยาบาลหัวเฉียว และปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้ เป็นวิจัยเชิงวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรโรงพยาบาลหัวเฉียวที่มีประสบการณ์การใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 118 ราย โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยเก็บแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 118 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเขิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ค่าดัชนีความสอดคล้อง อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 การตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ตัวแปรการยอมรับการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ ตัวแปรทัศนคติต่อการใช้ ตัวแปรการรับรู้ถึงประโยชน์ของการใช้ ตัวแปรความตั้งใจในการใช้ ตัวแปรต้นทุนของการใช้ และตัวแปรการใช้งานง่ายเท่ากับ 0.92, 0.75, 0.71, 0.85, 0.86 และ 0.73 ตามลำดับ
ข้อค้นพบจากการศึกษา พบว่า บุคลากรของโรงพยาบาลหัวเฉียว มีระดับการยอมรับการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับมาก โดยรวมอยู่ในระดับมาก และพบว่า ตัวแปรที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้มากที่สุด คือ ตัวแปรการรับรู้ถึงประโยชน์ของการใช้ ตัวแปรการใช้งานง่าย รองลงมา คือ ตัวแปรความตั้งใจในการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ และตัวแปรต้นทุนของการใช้ ตามลำดับ แต่ตัวแปรทัศนคติต่อการใช้ไม่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ และตัวแปรอิสระมีความสามารถในการอธิบายความผันแปรของตัวแปรตามได้ ร้อยละ 57.40 (R2 = 0.574) ดังนั้น ผู้บริหารโรงพยาบาลหัวเฉ๊ยว สามารถนำข้อมูลจากจากข้อค้นพบจากการศึกษาครั้งนี้ไปจัดทำนโยบายและวางแผนพัฒนาระบบ โดยให้ความสำคัญกับการรับรู้ถึงประโยชน์ของการใช้ การใช้งานง่าย ความตั้งใจในการใช้และต้นทุนของการใช้ตามลำดับ |
en |
dc.description.abstract |
This research aimed to study the acceptance level of electronic medical records use of workforce at Huachiew Hospital, and to examine factors affecting an acceptance of use. This research was a descriptive correlated research. The samples were workforces of Huachiew Hospital which had experience in using electronic medical records. The samples of 118 workforces were selected by stratified random sampling technique. Returned questionnaires were at 94.92 percent. The content validity of questionnaires were proved by tree experts. The Item-Objective Congruence Index (IOC) of all questions were 0.67-1.00. The Cronbach’s alpha co-efficiency reliability test of an acceptance electronic medical record use, attitude toward using, perceived usefulness, behavioral Intention to use, costs of use, and perceived ease of use were 0.92, 0.75, 0.71, 0.85, 0.86, and 0.73 respectively.
The findings of the study showed that an acceptance the electronic medical record use had a high level and perceived usefulness, perceived ease of use. Intention to use, costs of electronic medical records use had an effect on acceptance respectively but attitude toward using did not have an effect on acceptance. All variables in the model could explain an acceptance at 57.4%. A variable had an effect on acceptance with a highest coefficient was perceived usefulness. The findings of this research the administrative of Huachiew Hospital formulate a hospital policy and action plans to development the electronic medical records system in accordance with user and emphasize on perceived usefulness, perceived ease of use, Intention to use and cost of use respectively. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
วารสาร มฉก. วิชาการ 24,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 136-145. |
en |
dc.subject |
เวชระเบียน |
en |
dc.subject |
Medical records |
en |
dc.subject |
เวชระเบียน – การประมวลผลข้อมูล |
en |
dc.subject |
Medical records -- Data processing |
en |
dc.subject |
บันทึกการพยาบาล |
en |
dc.subject |
Nursing records |
en |
dc.subject |
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ – การพยาบาล |
en |
dc.subject |
Information storage and retrieval systems – Nursing |
en |
dc.subject |
โรงพยาบาลหัวเฉียว – พนักงาน |
en |
dc.subject |
Huachiew Hospital – Employees |
en |
dc.subject |
การยอมรับนวัตกรรม |
en |
dc.subject |
Innovation acceptance |
en |
dc.title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของบุคลากรโรงพยาบาลหัวเฉียว |
en |
dc.title.alternative |
Factors Effecting the Acceptance of the Electronic Medical Record Use of Workforce at Huachiew Hospital |
en |
dc.type |
Article |
en |