DSpace Repository

ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทวีศักดิ์ กสิผล
dc.contributor.advisor ชฎาภา ประเสริฐทรง
dc.contributor.advisor Taweesak Kasiphol
dc.contributor.advisor Chadapa Prasertsong
dc.contributor.author จารุวรรณ ปิยหิรัญ
dc.contributor.author Charuwan Piyahirun
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2022-05-20T06:35:30Z
dc.date.available 2022-05-20T06:35:30Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/315
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561 th
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้สมรรถนะของตนของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในระยะก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบสภาพร่างกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเกี่ยวกับปอดอักเสบและแผลกดทับ โปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลผูป่วยโรคหลอดเลือดสมองนี้ พัฒนาโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราเกี่ยวกับแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเป็นครั้งแรกที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล จำนวน 10 ราย การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ดำเนินการตามโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง ในการเยี่ยมบ้านติดต่อกัน 4 วัน ระยะที่ 2 เริ่มดำเนินการ 1 สัปดาห์ ภายหลังจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลด้วยการเยี่ยมบ้านในสัปดาห์ที่ 1 และใช้วิธีการโทรศัพท์มือถือที่เป็นการสื่อสารผ่านภาพและเสียง (Video calling) ในสัปดาห์ที่ 2,3 และ 4 หลังจากนั้น 28 วัน เยี่ยมบ้านเพื่อติดตามผลการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูและประเมินสภาพร่างกายประเมินการเกิดปอดอักเสบและแผลกดทับ ผลการวิจัย พบว่า ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง ระยะติดตามผลสูงกว่าหลังการทดลองและก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และการประเมินสภาพร่างกาย พบว่า ไม่พบอาการของปอดอักเสบ และไม่มีแผลกดทับ การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควรนำโปรแกรมไปใช้ th
dc.description.abstract The purpose of this one group quasi-experimental research were to investigate Self-efficacy perceiving of caregivers caring for stroke patients before and after attending Self-efficacy Promotion Program, and at the follow-up stage; and to compare the physical condition, focusing on pneumonia and bedsore, of stroke patients. The Self-efficacy Promotion Program based on Bansura's theory was developed focusing on pneumonia and bedsore prevention. There were 10 caregivers of the stroke patients with the first episode participated in this study. The experiment was separated into 2 stages. The first stage, the Self-efficacy Promotion Program was delivered to the caregivers for 4 times in 4 days of home visit, taking 1-2 hours a time. The seconf stage started on week after the patients were discharged. The caregivers were approached through home vivit at the first week and video calling once a week for 3 weeks; then home visit within 28 days afterward was performed for follow-up and the effects of the program measurement. Data were analyzed by using Wilcoxon Signed Ranks test. The incidences for pneumonia and bedsore were assessed by using the physical examination form. The results reveled that the scores of caregivers' perception on self-efficacy in caring for the stroke patients after attending the program were higher than before attending the program, follow-up scores were higher than before and after attending the program with the significantly different level .01. For physical condition assessment of the stroke patients at those 3 times of measurements, there had no pneumonia symptom and bedsore. The study suggested that the program should be applied in the development plan to enhance self-care ability and efficacy of caregivers in caring for stroke patients. th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject ผู้ดูแล th
dc.subject Caregivers th
dc.subject โรคหลอดเลือดสมอง -- ผู้ป่วย th
dc.subject Cerebrovascular disease -- Patients th
dc.subject การรับรู้ตนเอง th
dc.subject Self-perception th
dc.title ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง th
dc.title.alternative Effects of a Self-Efficacy Promotion Program for Stroke Caregivers th
dc.type Thesis th
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account